ผลของโปรแกรมอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ : กรณีศึกษาอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

ผู้แต่ง

  • Wiliam Boonchom โรงพยาบาลหล่มสัก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเทศไทย 67110

คำสำคัญ:

โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ โปรแกรมอาหาร ระดับน้ำตาลในเลือด การควบคุมระดับน้ำต

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทนำ

โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพปัจจุบันทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างมากเนื่องจากเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานในผู้สูงอายุที่ควบคุมไม่ได้ ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลคือ  พฤติกรรมการกินอาหาร

วัตถุประสงค์:    1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ ปัญหา การควบคุมระดับน้ำตาลของผู้ป่วยโรคเบาหวานในผู้สูงอายุที่ควบคุมไม่ได้ ในอำเภอหล่มสัก   และแนวทางการควบคุมระดับน้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานในผู้สูงอายุ

๒) เพื่อสร้างและตรวจสอบโปรแกรมอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับ

น้ำตาลไม่ได้     

วิธีการวิจัย :     การศึกษาในครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยใช้สรุปผลงานประจำปี 256๕ ของโรงพยาบาลหล่มสัก การทบทวนวรรณกรรม โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย เช่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการศึกษาของวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 แล้วใช้การทบทวนวรรณกรรม ข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิ โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลและแบบประเมินองค์ประกอบของโปรแกรม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงบรรยาย เช่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการศึกษาของวัตถุประสงค์ข้อที่ 2

 

 

 

ผลการวิจัย : (ใช้วัตสัน)พบว่า 1) การควบคุมระดับน้ำตาลในกลุ่มผู้สูงอายุ ในอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องมีส่วนร่วมในการสร้างโปรแกรมอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานสูงอาย2) องค์ประกอบของโปรแกรมสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ มี 1 สร้างสัมพันธภาพการช่วยเหลือและการไว้วางใจ2) การประเมินตนเอง (Self-evaluation) 3)การตั้งเป้าหมาย (Goal setting) 4)การตัดสินใจด้วยตัวเองSelf-determination 5)การลงมือปฏิบัติ(Action) 6) การกำกับตนเอง (Self-monitoring 7) การให้แรงเสริมตนเอง (Self-reinforcement)และมีคุณภาพอยู่ในระดับดี

 

สรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้มีความเหมาะสมและสามารถนำไปทดลองใช้ ในขั้นตอนที่ 3 ของการวิจัยและพัฒนาต่อไป

คําสําคัญ:        โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ  โปรแกรมอาหาร  ระดับน้ำตาลในเลือด การควบคุมระดับน้ำตาล

เอกสารอ้างอิง

โรงพยาบาลหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. (2566). ข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลหล่มสักสถิติผู้ป่วยนอกคลินิกเบาหวานเข้ารับการรักษา ปีงบประมาณ 2565-2566.

กฤตกร หมั่นสระเกษ, ณิชกานต์ วงษ์ประกอบ, รำไพ หมั่นสระเกษ, & สุกัญญา จุลละสุวรรณ. (2563). กลยุทธ์ การส่งเสริมการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 26(2), 214-225.

พัฒนพร อุ่นวงศ์, & มยุรี บุญศักดิ์. (2566). ผลของการเข้าค่ายเบาหวานแบบค้างแรมโรงพยาบาลเขื่องใน ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับนํ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา, 3(1), 44-62.

สุพิณญา คงเจริญ, ชดช้อย วัฒนะ และ ธีรนุช ห้านิรัติศัย. (2556). ผลของ โปรแกรมการกำกับ ตนเองเพื่อควบคุมความดันโลหิตต่อพฤติกรรมการกำกับตนเองระดับความดันโลหิต และภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดัน โลหิตสูง. พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 40(1), 23-33.

นพาภรณ์ จันทร์ศรี, กนกพร นทีธนสมบัติ และ ทวีศักดิ์ กสิผล (2563). ผลของโปรแกรมกํารจัดกํารตนเองในผู้ป่วยโรคควํามดันโลหิตสูงที่ควบคุมควํามดันโลหิตไม่ได้.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 6(2), 58-68.

จอนผะ จงเพ็งจาด. (2553). การใช้ทฤษฎีการดูแลมนุษย์ของวัตสันในการพยาบาลผู้ป่วยแบบ ประคับประคอง. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 3(1-3), 1-17.

ปัทพร แจ้งสันเทียะ และ ชนัดดา แนบเกษร. (2018). ผลของโปรแกรมวาดภาพเสริมสร้างความหวังต่อความหวังในผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตาย. วารสารพยาบาลทหารบก. 19(พิเศษ), 343-353.

วิชัย เอกพลากร. (บรรณาธิการ). (2564). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 2562 - 2563. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

Arnold, S. V., Khunti, K., Tang, F., Chen, H., Cid-Ruzafa, J., Cooper, A., et al. (2022). Incidence rates and predictors of microvascular and macrovascular complications in patients with type 2 diabetes: Results from the longitudinal global discover study. American Heart Journal, 243, 232-239.

Barnes, J. (2020). Improving Quality of Care and Patient Education.

Boonda, P. (2021). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health: An Observational Study. New Frontiers in Medicine and Medical Research Vol. 14, 80–86. https://doi.org/10.9734/bpi/nfmmr/v14/4289F

Boonda, P. (2021). Techniques of Writing Chapter 1 for Research and Development in Public Health. New Frontiers in Medicine and Medical Research Vol. 14, 65–79. https://doi.org/10.9734/bpi/nfmmr/v14/3839F

Boonda, P. (2020). A Technique of Modeling in Public Health Research and Development. World Journal of Public Health, 5(4), 2020, pp. 89-98. doi: 10.11648/j.wjph.20200504.13

Boonda, P. (2019). Techniques for Writing Chapter I of Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 3(4): 000222. DOI: 10.23880/mjccs-16000222

Boonda, P. (2019). Process of Research and Development in Public Health. International Journal of Clinical Case Studies & Reports, 2(1): 61-65.

Boonda, P. (2018). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 2(10): 000183. DOI: 10.23880/mjccs-16000183.

Boonda, P. Preedeekul, A. (2016). Developing A Training Program to Develop Competency of Regional Operating Officer (ROO) in the Virtual Service Provider Office (VSPO) in Thailand. WIT Transactions on Ecology and the Environment. Vol.210, 393-404, Wessex Institute, UK., DOI:10.2495/SDP160331.

Boonda, P. (2021). The Technique of Processes Matrixing to Summarize from the Literature Review. Copyrights: Request for information No.398059, Issued on: Nov. 8, 2021.

Boonda, P. (2021). The Technique of Phrases Matrixing to Summarize from the Literature Review. Copyrights: Request for information No.398060, Issued on: Nov. 8, 2021.

Boonda, P. (2021). Teaching in doing a research and development theme of public health administration subject. Copyrights: Request for information No.398061, Issued on: Oct. 18, 2021.

Cho, M.K., & Kim, M.Y. (2021). Self-Management Nursing Intervention for Controlling Glucose among Diabetes: A Systematic Review and Meta-Analysis. International journal of environmental research and public health,18(23), 12750.

International Diabetes Federation. (2021). IDF Diabetes Atlas - 10th edition. Retrieved May 30, 2023, from https://diabetesatlas.org

Papatheodorou, K., Banach, M., Bekiari, E., Rizzo, M., & Edmonds, M. (2018). Complications of Diabetes 2017. Journal of Diabetes Research, 2018, 3086167.

Intarasan, T. (2023). A Developing a Self-Management Model to Enhanced Glycemic Control for Uncontrolled Diabetic Patients. Journal of MCU Nakhondhat, 10(8), 277-288.

Kanfer, F. H., & Gaelick-Buys, L. (1991). Self-management methods.

Khampeng, S., Boonpradit, A., & Poysungnoen, Y. (2019). The Effects of the Self-directed Programs on Food Consumption, Exercise, Body Weight and Blood Sugar Levels among Diabetic Patients in Muang District, Lopburi Province. Nursing Journal of The Ministry of Public Health, 29(2), 74-86.

Pate, Wittenborn, D, Jeschke, J. (1995). Characteristics of Exotic ants in North America. Wittman, SE.

Phinyo, P., Phinyo, K., Mahem, K., Supapinij, C., & Paungtai, P. (2021). Development of Self-management Guidelines for Patients with Type 2 Diabetes in the Semi-urban, Semi-rural Community. Songklanagarind Journal of Nursing, 41(4), 100-114.

Ryan, P., & Sawin, K. J. (2009). The Individual and Family Self- Management Theory: background and perspectives on context, process, and outcomes. Nursing outlook, 57(4): 217 – 225.

Safiri, S., Nejadghaderi, S. A., Karamzad, N., Kaufman, J. S., Carson-Chahhoud, K., Bragazzi, N. L., et al. (2022). Global, Regional and National Burden of Cancers Attributable to High Fasting Plasma Glucose in 204 Countries and Territories, 1990-2019. Frontiers in Endocrinology, 13, 879890.

Sanbudda, T., Luenam, S., Lardnongkhun, S., & Dana, K. (2023). The Effect of Self-Management Program to Glycemic Control in Type 2 Diabetes Patients: COVID-19 Relief Measures. Academic Journal of Health and Environment. 1(1), 531-531.

Temthup, S., Nilmanat, K., Chiawaram, J., & Kunghae, S. (2023). The Effect of a Nurse Led Self-Management Enhancing Program on Antiviral Drug Adherence in Patients with Hepatitis B Virus-related Hepatocellular Carcinoma. The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council, 38(03), 129-146.

Thungtong, S., Chinnawong, T., & Thaniwattananon, P. (2015). Effects of Self-management support program for delayed progression of diabetic nephropathy on self-management behaviors and clinical outcomes in patients with uncontrolled type 2 diabetes mellitus. Journal of Research in Nursing-Midwifery and Health Sciences, 35(1), 67-84.

Watson, J. (1985). Nursing: human science and human care: a theory of nursing. Norwalk: Connecticut, Appletion-Century-Crofts.

Watson, J. (2005). Caring theory as ethical guide to administrative and clinical practices. Nursing Administration Quarterly, 12; 18-55.

Watson, J. (2005). Caring science as sacred science. Philadelphia: F.A. Davis Co.

Watson, J. (2008). Nursing: the philosophy and science of caring. Boulder, Cololado.: University Press of Colorado.

Watson, J., & Woodward, T. K. (2010). Jean Watson’s theory of human caring. Nursing theories and nursing practice, 3, 351-369.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-07-28