การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงคาโนนิคอลระหว่างความรู้ความเข้าใจกับพฤติกรรมของประชาชนอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

ผู้แต่ง

  • Sureeporn Masrichan สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงคาโนนิคอลระหว่างความรู้ความเข้าใจกับพฤติกรรมของประชาชนอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาระดับการปฏิบัติของความรู้ความเข้าใจ และการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจ และการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย 3) ศึกษาอัตราและแบบแผนความสัมพันธ์สูงสุดความรู้ความเข้าใจ และการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย 4) ศึกษาค่าน้ำหนักความสำคัญคาโนนิคอลจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลความรู้ความเข้าใจ และการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย และ 5) วิเคราะห์ตัวแปรประกอบหรือตัวแปรคาโนนิคอลจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ความรู้ความเข้าใจ และการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นประชาชนอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ประเทศไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 3,318 คน ซึ่งได้มาโดยการ……………………….. เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( Health Literacy ) แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ

ผลการวิจัยพบว่า

  1. ระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากโดยการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีการปฏิบัติอยู่ในลำดับแรก ได้แก่ ……………… และมีความรู้ความเข้าใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความรู้ความเข้าใจในลำดับแรก ได้แก่ ………………
  2. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจและการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยตัวแปรที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สูงสุด ได้แก่ความรู้ความเข้าใจ ด้าน………………กับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ด้าน………………
  3. แบบแผนความสัมพันธ์สูงสุดระหว่างความรู้ความเข้าใจและการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ ของประชาชนระดับอำเภอในประเทศไทย เป็นดังนี้

คู่ที่ 1 เป็นคู่ที่มีความสัมพันธ์กันสูงสุดที่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ระหว่างความรู้ความเข้าใจ ด้าน………………และ………………กับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพด้าน………………และ………………

คู่ที่ 2 เป็นคู่ที่มีความสัมพันธ์กันสูงรองลงมาที่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ระหว่างความรู้ความเข้าใจด้าน………………และ………………กับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพด้าน………………และ………………ส่วนโรงเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจ ด้าน………………และ……………กับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพด้าน……………และ………………

คู่ที่ 3 เป็นคู่ที่มีความสัมพันธ์สูงสุดรองลงมาเป็นอันดับ 3 ที่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05ระหว่างความรู้ความเข้าใจ ด้าน………………กับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพ ด้าน………………และ………………ส่วนโรงเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจ ด้าน………………และ……………กับการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพด้าน……………และ………………

ส่วนคู่ที่ 4 และคู่ที่ 5 เป็นแบบแผนความสัมพันธ์ที่ความรู้ความเข้าใจ และการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ และบริการสุขภาพมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

เอกสารอ้างอิง

References

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เขต 8 กระทรวงสาธารณสุข. (2558). สถานการณ์พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. ของประชาชนวัยทำงาน.

คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ.การปฏิรูปความรอบรู้และการสื่อสารสุขภาพ (ร่างแนวทางการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการสื่อสารด้านสุขภาพ). พฤศจิกายน 2559.

ชิราวุธ ปุญณวิช, & ศิระปรุฬห์ทองเทพ. (2020). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติในนักเรียนอายุ 10–14 ปี อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช. JOURNAL OF ALLIED HEALTH SCIENCES SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY, 5(1), 26-36.

วิมล โรมา, สายชล คล้อยเอี่ยม, วรัญญา สุขวงศ์, ฐิติวัฒน์ แก้วอำดี, อัจฉรา ตันหนึ่ง, รุ่งนภา คำผาง, & รักมณี บุตรชน. (2019). การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ.2562. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

แสงเดือน กิ่งแก้ว, นุสรา ประเสริฐศรี. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังหลายโรค. NJPH (วารสาร พ.ส.)

[Internet]. 1 [cited 2020Oct.4];25(3):43-4. Available from:

https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/47244

อารีย์ แร่ทอง. (2019). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ 2 ส ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านกรณีศึกษาตำบลหินตก อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช Health Literacy and Health Behaviour, 3Aor 2Sor, for the Village Health Volunteers (VHVs): Case study of Hintok Sub-district, Ronphibun District, NakhonSiThammarat Province. Journal of Department of Health Service Support-วารสารวิชาการกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 15(3).

อรวรรณ นามมนตรี. (2018). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy). Thai Dental Nurse Journal, 29(1), 122-128.

อามานี แดมะยุ. (2020). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง (Doctoral dissertation, เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

อามานี แดมะยุ, ศิริรัตน์ ปานอุทัย, & พนิดา จันทโสภีพันธ์. (2020). ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง. Thai Journal of Nursing Council, 35(3), 85-105.

Department of Health Service Support, Ministry of Public Health. (2018). Strengthening health Literacy from Village Health Volunteers to Foreign Health Volunteers, page 3, 7-8, 39-43.

Ginggeaw, S. and Prasertsri, N. (2015). The relationship between Health Literacy and Health Behaviors of the elderly with multiple chronic diseases.Nursing Journal of the Ministry of Public Health. Page 25(343-54. (Thai Version)

Kaewtong, N. et al. (2014). Health literacy of risky group in hypertension at Bannonghoi health promoting hospital,Sakaeo province.Journal of Boromarajonani College of Nursing,Bangkok. Page 30(1): 45-56. (Thai Version)

Khumthong, T. et al., (2016). Factors Influencing Health Literacy for riskypeople of Diabetes and Hypertension of Uthai Thani and Ang Thong.Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University.Page 3(6): 67-85.

Lhakieow, A and Chaleekreur, T. (2014). Health literacy and factors related to medication among patients with hypertension in Ban PiangLuang health promoting hospital, Chiang Mai Province Acadamic report and the national and international research presentations, national group science.Page 1(6): 635-649.

Health Education Division, Department of Health Service Support, Ministry of Public Health, (2015). Assessment and promotion of health literacy: page 2, 6, 7.

Health Education Division, Department of Health Service Support, Ministry of Public Health (2018). Strategies for promoting health Literacy and health behaviour: page 5-6.

Health Education Division, Department of Health Service Support, Ministry of Public Health (2018). Promoting the development of health literacy and health behavior: page 12, 13, 14.

The Regional Health Service Support Office 8 (2015). The Conclusion of Health Literacy and Health Behaviour in 2 age-groupof Regional Health 8.Searched on July 14, 2018, from the website http://enzymeman77. blogspot.com/2015/10/health-literacy-8.htm.

Phongpisanu B. (2019). Techniques for Writing Chapter I of Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 3(4): 000222. DOI: 10.23880/mjccs-16000222

Phongpisanu B. (2019). Process of Research and Development in Public Health. International Journal of Clinical Case Studies & Reports, 2(1): 61-65.

Phongpisanu B. (2018). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 2(10): 000183. DOI: 10.23880/mjccs-16000183

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-05-01 — อัปเดตเมื่อ 2024-05-03

เวอร์ชัน