ผลของการใช้โปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผ่านแอปพลิเคชันในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์
คำสำคัญ:
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, พฤติกรรมสุขภาพ, ล้างไตทางช่องท้อง, แอปพลิเคชันบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง
วิธีการศึกษา: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) รูปแบบหนึ่งกลุ่มวัดก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม (One Group Pretest-Posttest Design) กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง และมีอายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มารับบริการที่แผนกไตเทียม โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จํานวน 30 ราย และคัดเลือกตามเกณฑ์คุณสมบัติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยประยุกต์ใช้กรอบแนวคิด ความรอบรู้ด้านสุขภาพของนัทบีม (Nutbeam) ประกอบด้วย ชุดสื่อมัลติมีเดีย 12 เรื่อง ชุดวิดีโอต้นแบบ 2 ชุด ชุด Q&A ชุดกระตุ้นเตือนความรู้ทุกวัน วันละ 1 ครั้ง ใช้เวลาในการดำเนินกิจกรรม 8 สัปดาห์ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพและแบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบการกระจายตัวของข้อมูลด้วยสถิติ Test of normality ของ Shapiro-Wilk สถิติทดสอบสมมติฐานด้วย Dependent Paired t-test
ผลการศึกษา: หลังการทดลองพบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวมและรายด้าน ค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมและพฤติกรรมสุขภาพด้านการล้างไตทางช่องท้อง ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<.05) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. ทั้งด้านอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมและก่อนเข้าร่วมโปรแกรมไม่แตกต่างกัน
สรุป: แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ช่วยเพิ่มคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องได้ผลที่ดีขึ้น และทำให้ผู้ป่วยเกิดความพึงพอใจเพิ่มขึ้น
คำสำคัญ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, พฤติกรรมสุขภาพ, ล้างไตทางช่องท้อง, แอปพลิเคชัน
เอกสารอ้างอิง
คณะอนุกรรมการลงทะเบียนการบำบัดทดแทนไต (TRT registry), สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. ข้อมูลการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย พ.ศ.2563 (Thailand Renal Replacement Therapy: Year 2020). [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 27 ธันวาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://www.nephrothai.org/wp-content/uploads/2022/ 06/Final-TRT-report-2020.pdf
กมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล. ระบาดวิทยาและการทบทวนมาตรการป้องกันโรคไตเรื้อรัง. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 27 ธันวาคม 2566] เข้าถึงได้จาก:https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1308820220905025852.pdf
โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์. ข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (CKD DMIS : Chronic Kidney Diseases Disease Management Information System) ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) พ.ศ. 2563-2565. [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 27 ธันวาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://ucapps4.nhso.go.th/disease2/FrmDmisLogin.jsp
สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย. กรมอนามัย เผยไทยติด 1 ใน 5 ประเทศที่มีอัตราการเกิดโรคไตสูงสุด แนะเลี่ยง 8 ประเภทอาหาร [อินเทอร์เน็ต]. สื่อมัลติมิเดียกรมอนามัย; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 27 ธันวาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/090366/
Kam-Tao Li P, Ming Chow K, Y Cho Y, Fan S, Figueiredo AE, Kanjanabuch T. et al. ISPD peritonitis guideline recommendations. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 6 กรกฎาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/35264029/
Szeto C. Peritonitis rates of the past thirty years: from improvement to stagnation. Journal of the International Society for Peritoneal Dialysis.[อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 6 กรกฎาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3968099/
โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์. รายงานตัวชี้วัดคุณภาพผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ.2563-2565.
นพมาศ โกศล, ประนอม อุบลกาญจน์, เชาวลิต ลิ่มวิจิตรวงศ์, นิติยา ศิริแก้ว. ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส. ของกลุ่มวัยทํางาน สําหรับหมู่บ้านจัดการสุขภาพ: กรณีศึกษาชุมชนบ้านวังหิน อําเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 10. [อินเทอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 18 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hu.ac.th/conference/conference 2019/proceedings2019/FullText/ 201600-1611.pdf
ชาตรี แมตสี่ และ ศิวิไลซ์ วนรัตน์วิจิตร. การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ: จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 9(2): กรกฎาคม – ธันวาคม: 107-108. [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 6 กรกฎาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/unc/article/view/115941/89388
Jain D, Sheth H, Green JA, Bender FH, Weisbord SD. Health Literacy in Patients on Maintenance Peritoneal Dialysis: Prevalence and Outcomes. [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 6 กรกฎาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4335935/
โอภาส การย์กวินพงศ์. นโยบายและทิศทางการดำเนินงานสาธารณสุขประจำปี 2566-2568 [อินเทอร์เน็ต]. กองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2565. [เข้าถึงเมื่อ 6 กรกฎาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://spd.moph.go.th/2023-focus-policy/
WP. สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก “ไทย” เสพติดเน็ตมากสุดในโลก-“กรุงเทพ” เมืองผู้ใช้ Facebook สูงสุด. [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 18 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/global-and-thailand-digital-report-2018/
Ong, S. W., & et al. Integrating a smartphone-based self-management system into the usual care of advanced CKD. Clinical Journal of the American Society of Nephrology, 11(6), 1054-1062. [อินเทอร์เน็ต]. (2016). [เข้าถึงเมื่อ 6 กรกฎาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/view/232230/158607
ปริญญ์ อยู่เมือง และปัทมา สุพรรณกุล. โมบายแอปพลิเคชันชะลอความเสื่อมของไตตามหลักการจัดการตนเองของเครียร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 13(3), (September-December 2562): 32-43. [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 23 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/view/232230/158607
Nutbeam D. The evolving concept of health literacy. Soc Sci Med. 2008 Dec;67(12):2072-8. doi: 10.1016/j.socscimed.2008.09.050.
นนท์ธวัฒน์ เพชรคีรี จินต์จุฑา รอดพาล. ประสิทธิผลโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเขตเทศบาลนครพระนครศรอยุธยา.[อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2567] เข้าถึงได้จาก http://www.ayhosp.go.th/ayh/images/Knowledge/JOHS/25042022.pdf
รจนารถ ชูใจ , ชลธิชา บุญศิริ และ กมลพร แพทย์ชีพ. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคโควิด-19 ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน ตําบลดอนตะโก อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสาร เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 20 มกราคม 2567]; 8(1) (มกราคม-เมษายน 2564): 250-262. เข้าถึงได้จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/scnet/article/view/245346/167851
วัชรี รัตนวงศ์ และ ทิพาพร จ้อยเจริญ. พฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไตด้วยการล้างไตทาง ช่องท้องอย่างต่อเนื่อง [อินเตอร์เน็ต]. ชลบุรี: หน่วยไตเทียมโรงพยาบาลชลบุรี; 2560, [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2560]. เข้าถึงได้จาก https://www.cbh.moph.go.th/app/intranet/files/km/1507187098_12.
ภูรดา ยังวิลัย. การเปรียบเทียบผลของการชี้แนะและการสอนสุขศึกษาต่อพฤติกรรมสุขภาพ และระดับความดันโลหิตของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน. [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 23 มกราคม 2567]; 3: 81-53. เข้าถึงได้จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ajcph/article/view/247368/168044
อมรรัตน์ โภชนากรณ์, อุมารินทร ดอกเตย, ปรัชญาพร สุวรรณเรือง, และ กสมล ชนะสุข. การพัฒนาแอปพลิเคชันดูแลการล้างไตทางช่องท้องสําหรับผู้ป่วยโรคไต. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม; วันที่ 7–8 กรกฎาคม 2565; ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม; 2565: 523-534.
Fitzgerald, M., & McClelland, G. (2017). What makes a mobile app successful in supporting health behavior change? Health Education Journal, 76(3): 373-381. doi: 10.1177/0017896916681179
ศิรินภา อุสิงห์ และ นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์. ผลของการสอนโดยชุดการเสริมสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับการทํางานของไตลดลงอย่างรวดเร็วต่อความรู้และความสามารถในการอ่านและเข้าใจตัวเลขเกี่ยวกับสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 17(2), (พฤษภาคม-สิงหาคม 2566): 408-422.. [อินเตอร์เน็ต]. 2566, [เข้าถึงเมื่อ 23 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RHPC9Journal/article/view/261080.
สุนันทา เดชบุญ และ ศิริลักษณ์ กิจศรีไพศาล เเละ สมบัติ มุ่งทวีพงษา. ผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจร่วมกับการใช้โมบายแอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมความร่วมมือใน การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองซ้ำและค่าความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เป็นโรค ความดันโลหิตสูง. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ). [อินเทอร์เน็ต]. (2566). [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:293749
ภฤดา แสงสินศร. การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในเขตจังหวัดพิจิตร. วารสารวิจัยและวิชาการสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร, 2(2), (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564): 43-54. [อินเทอร์เน็ต]. 2564, [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก http://www.ppho.go.th/webppho/research/y2p2/b05.pdf
นุชนาฏ ด้วงผึ้ง. ผลของการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยไตเสื่อมระยะที่ 3. วารสารสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10. 17: 19-31. [อินเทอร์เน็ต]. 2566, [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2567]; เข้าถึงได้จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/odpc10ubon/article/view/250106/169962
Fjeldsoe B, Neuhaus M, Winkler E, Eakin E. Systematic Review of Maintenance of Behavior Change Following Physical Activity and Dietary Interventions. Health Psychology [Internet]. 2011 [cited 2024 Jan 28]; 30:99-109. Available from: https://www.researchgate.net/profile/Brianna -Fjeldsoe/publication/49815526_Systematic_Review_of_Maintenance_of_Behavior_Change_Following_Physical_Activity_and_Dietary_Interventions/links/54c9ae240cf298fd262686c7/Systematic-Review-of-Maintenance-of-Behavior -Change-Following-Physical-Activity-and-Dietary -Interventions.pdf
ดอนคำ แก้วบุญเสริฐ, นิภาภรณ เชื้อยูนาน, พัชรินทร คำนวล. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง โรงพยาบาลพะเยาและเครือข่าย. วารสารสาธารณสุขแพร่เพื่อการพัฒนา. 3(2): 1-16. [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2567]; เข้าถึงได้จาก: https://thaidj.org/index.php/jpphd/article/download/15007/ 11971/29899
ปราณี แสดคง, รัชนี พจนา, วิทยา วาโย, รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง. ผลของการใช้แอปพลิเคชันฮักไตต่อความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่2และโรคความดันโลหิตสูงที่เป็นโรคไตเรื้อรังระยะที่3ร่วมด้วยกรณีศึกษาศูนย์แพทย์ชุมชนวัดหนองแวง พระอารามหลวง อำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 7(3): 195-206. [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 28 มกราคม 2566]; เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/ scnet/article/view/243068
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
ลิขสิทธิ์ (c) 2024 Region 3 Medical and Public Health Journal - วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.