ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ในผู้สูงอายุ จังหวัดยโสธร

ผู้แต่ง

  • ถนอม นามวงศ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
  • นริศรา อารีรักษ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน, ความชุก

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ชนิด STEMI ในผู้สูงอายุ ใช้รูปแบบการวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกคน ในพื้นที่อำเภอเมืองยโสธร เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบคัดกรอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ Unconditional multiple logistic regression ผลการศึกษา ผู้สูงอายุทั้งหมด 20,994 คน ได้รับการคัด กรอง 18,818 ราย (ร้อยละ 89.6) ความชุกโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ร้อยละ 3.0 (95%CI 2.7 to 3.2) พบในเพศชาย ร้อยละ 2.8 ในเพศหญิง ร้อยละ 3.1 โดยพบความความชุกที่สูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น ปัจจัยที่สัมพันธ์กับโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI มีอยู่ 4 ปัจจัย ได้แก่ อายุ [60-69 ปีกลุ่มอ้างอิง (อายุ 70-79 ปี ORadj 1.4, 95%CI 1.2 to 1.7; อายุ 80 ปีขึ้นไป ORadj 1.7, 95%CI 1.3 to 2.2)] ดื่มแอลกอฮอล์ (ORadj 1.4, 95%CI 1.1 to 1.7) โรคความดันโลหิตสูง (ORadj 1.9, 95%CI 1.6 to 2.2) และโรคไขมันในเลือดสูง (ORadj 3.0, 95%CI 2.8 to 3.7) โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ในการศึกษานี้ พบความความชุก สูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการเพิ่มของจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ทั้ง 4 ปัจจัยมีความสอดคล้องกับการศึกษาอื่นๆ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถนำผล การศึกษานี้ไปออกแบบระบบสุขภาพในการดูแลผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Laothavorn P, Hengrussamee K, Kanjanavanit R, Moleerergpoom W, Laorakpongse D, Pachirat O, et al. Thai acute decompensated heart failure registry (Thai ADHERE). CVD Prev Control 2010;5(3):89–95.

American Heart Association. About heart attacks [Internet]. 2016 [cited 2021 Dec 12]. Available from: https:// www.heart.org/en/health-topics/heart-attack/aboutheart-attacks

กัมปนาท วีรกุล, จิตติ โฆษิตชัยวัฒน์. 7R การลดอัตราตาย ในโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน. นนทบุรี: ศรีนครดีไซน์ พริ้นติ้ง; 2557.

กองโรคไม่ติดต่อ. รายงานสถานการณ์โรค NCDs พ.ศ. 2562. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2562.

World Health Organization Thailand. The silent killers that threaten Thailand’s future [Internet]. 2022 [cited 2022 Jan 24]. Available from: https://www.who.int/thailand/

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2562. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2563.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร. สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ. ยโสธร: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร; 2564.

สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติ ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับ ปรับปรุง ปี 2557. พิมพ์ครั้งที 2. กรุงเทพมหานคร: สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย; 2557.

Rasool F, Khan MS, Ali A, Masood J. Prevalence of risk factors of ST elevated myocardial infarction. Value Health 2013;16:A665-A728.

Callachan EL, Alsheikh-Ali AA, Wallis LA. Analysis of risk factors, presentation, and in-hospital events of very young patients presenting with ST-elevation myocardial infarction. J Saudi Hear Assoc 2017;29:270–5.

Yunyun W, Tong L, Yingwu L, Bojiang L, Yu W, Xiaomin H, et al. Analysis of risk factors of ST-segment elevation myocardial infarction in young patients. BMC Cardiovasc Disord 2014;14(179):1–6.

Ralapanawa U, Kumarasiri PVR, Jayawickreme KP, Kumarihamy P, Wijeratne Y, Ekanayake M, et al. Epidemiology and risk factors of patients with types of acute coronary syndrome presenting to a tertiary care hospital in Sri Lanka. BMC Cardiovasc Disord 2019; 19(229):1–9.

Rathore V. Risk factors of acute myocardial infarction: a review. Eurasian J Med Investig 2018;2(1):1–7.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. สถิติผู้สูงอายุ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 12 ม.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www. dop.go.th/th/know/1

ศรวณีย์ ทนุชิต, ดนัย ชินคำ, ณัฐธิดา มาลาทอง, สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล, ศรีเพ็ญ ตันติเวส. การศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่เหมาะสม สำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2019 [สืบค้นเมื่อ 10 มี.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www. niems.go.th/pdfviewer/index.html

Shah MN, Glushak C, Karrison TG, Mulliken R, Walter J, Friedmann PD, et al. Predictors of emergency medical services utilization by elders. Acad Emerg Med 2003; 10(1):52–8.

World Health Organization. Stroke, cerebrovascular accident [Internet]. [cited 2022 Jan 12]. Available from: http://www.emro.who.int/health-topics/stroke-cerebrovascular-accident/index.html

อนุวัตร์ รินทรวิฑูรย์, กมลนาถ มุขมณเฑียร, จอม สุวรรณโณ, เรวดี เพชรศิราสัณห์, เจนเนตร พลเพชร. ปัจจัยทำนายการเกิดอุบัติการณ์ชนิดรุนแรงในระยะเวลา 6 เดือนแรกหลัง เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST ยกสูงโดย ใช้เครื่องมือ GRACE. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2563;31(2):160–73.

Wichian C, Morasert T, Nilmoje T, Chichareon P. Prevalence and predictors associated with in-hospital mortality in acute ST segment elevation myocardial infarction after reperfusion therapy in developing country. Cardiovasc Diagn Ther 2020;10(5):1264–9.

Shang C, Veliz DH, Arrocha MF, Martínez MIA, Assef HP. Cardiovascular risk factors in patients with ST-segment elevation myocardial infarction. CorSalud Revista Enfermedades Cardiovasc 2020;12(1):31–7.

นพวรรณ เจริญยศ. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเสีย ชีวิตในผู้ป่ วยกล้ามเนื้ อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI ในโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช. วารสารแพทย์- เขต 4-5 2556;31(2):151–67.

ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน, สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล, ประชุมพร กวีกรณ์, สุเพียร โภคทิพย์, ศิริทิพย์ สงวนวงศ์วาน, ภคิน ไชยช่วย, และคณะ. คู่มือดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบสุขภาพ ชุมชนสู่ระบบริการสุขภาพอย่างไร้รอยต่อ สำหรับผู้สูงอายกลุ่มเสี่ยง stroke, STEMI และ hip fracture แบบบูรณาการ ในเขตสุขภาพที่ 10. อุบลราชธานี: อัลทิเมทพริ้นติ้ง; 2564.

Cochran WG. Sampling techniques. 3rd ed. New York: John Wiley & Son; 1977.

Sakboonyarat B, Rangsin R. Prevalence and associated factors of ischemic heart disease (IHD) among patients with diabetes mellitus: A nation-wide, cross-sectional survey. BMC Cardiovasc Disord 2018;18(151):1–7.

Hosmer DW, Lemeshow S. Applied logistic regression. 2nd ed. New York: McGraw-Hill; 2000.

Piano MR. Alcohol’s effects on the cardiovascular system. Alcohol Res 2017;38(2):219–41.

Oh GC, Cho H-J. Blood pressure and heart failure. Clin Hypertens 2020;26(1):1–8.

Nelson RH. Hyperlipidemia as a risk factor for cardiovascular disease. Prim Care 2013;40(1):195–211.

ทิพย์สุดา พรหมดนตรี, จินตนา ดำเกลี้ยง. ปัจจัยเสี่ยงต่อ การเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น: การทบทวนวรรณกรรมแบบบูรณาการ. Songklanagarind J Nurs 2021;3(3):99–108.

Tsai IT, Wang CP, Lu YC, Hung WC, Wu CC, Lu LF, et al. The burden of major adverse cardiac events in patients with coronary artery disease. BMC Cardiovasc Disord 2017;17(1):1–14.

Fu Y, Li KB, Yang XC. A risk score model for predicting cardiac rupture after acute myocardial infarction. Chin Med J 2010;132(9):1039–44.

พงษ์เดช สารการ, ภัทรนันท์ หมั่นพลศรี. จุดตัดที่เหมาะสมสาหรับการวิเคราะห์เส้นโค้ง receiver operating charac teristic (ROC) ในการพัฒนาเครื่องมือนวัตกรรมทาง สุขภาพ: กรณีตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม STATA. Thai Bull Pharm Sci 2564;16(1):93–108. 33. Greiner M, Pfeiffer D SR. Principles and practical application of the receiver-operating characteristic analysis for diagnostic tests. Prev Vet Med 2000;45(1– 2):23–41.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้