นวัตกรรมการใช้ถุงมือผสมผสานการนวดกับการประคบร้อน

ผู้แต่ง

  • ทัศนมินทร์ รัชตาธนรัชต์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบความมั่นคงและความปลอดภัยชายฝั่งเศรษฐกิจอ่าวไทยและอันดามัน กรุงเทพมหานคร
  • ณีรนุช วงค์เจริญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • กรรณิกา โพธิ์สง่า ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบความมั่นคงและความปลอดภัยชายฝั่งเศรษฐกิจอ่าวไทยและอันดามัน กรุงเทพมหานคร
  • สรรเพชญ เรืองอร่าม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอพนม จังหวัดสุราษฏร์ธานี

คำสำคัญ:

ถุงมือ, การนวด, การประคบร้อน, นักกีฬาคนพิการ, สมรรถภาพทางร่างกาย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองแบบ posttest-only, nonequivalent control group design มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาถุงมือผสมผสานการนวดกับการประคบร้อนช่วยเพิ่มความพร้อมสมรรถภาพร่างกายของ นักกีฬาคนพิการทางการเคลื่อนไหว กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาคนพิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน 136 คน เครื่องมือวิจัยเป็นถุงมือผสมผสานการนวดกับการประคบร้อน ผลิตมาจากผ้านาโนชนิดบางป้ องกันความเปียกชื้น มี 3 ชั้น ได้แก่ ชั้นในสุดเป็นฉนวนกันความร้อน ชั้น 2 เป็นเม็ดทรายคริสตัล และชั้นนอกสุดเป็นสมุนไพร และนำมาใช้ในการ ทดสอบความพร้อมสมรรถภาพร่างกายระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 68 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติพรรณนา และ independent samples t-test ผลการศึกษา พบว่า ความพร้อมสมรรถภาพทางร่างกายของนักกีฬา คนพิการทางการเคลื่อนไหวหลังการเข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มควบคุม และหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมมีสมรรถภาพทางร่างกาย 5 ด้าน ได้แก่ ระบบไหลเวียนโลหิตและหายใจ ความแข็งแรง ความอดทน ความอ่อนตัว และสัดส่วนของร่างกายที่พอเหมาะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีข้อเสนอแนะคือ สมาคมการกีฬา นักกีฬาคนพิการทางการเคลื่อนไหวสามารถนำนวัตกรรมถุงมือไปใช้ในการ ช่วยเตรียมความพร้อมด้านสมรรถภาพทางร่างกายของนักกีฬาและนักกีฬายังสามารถใช้นวัตกรรมได้ด้วยตนเอง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ช่วยในการฟื้ นตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยป้ องกันการบาดเจ็บซ้ำของนักกีฬาจาก การฝึกซ้อมและการแข่งขัน นอกจากนี้บุคคลทั่วไปสามารถนำไปปรับใช้ได้

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Cleak MJ, Easton RG. Muscle soreness, swelling, stiffness and strength loss after intense eccentric exercise. Br. Journal Sports Medicine 1992;26(4):267-72.

Greenberg J, Dintiman GB, Oakes BM. Physical fitness and wellness. Boston: Allyn and Bacon; 1998.

Johnson PD, Stolberg WJ. Conditioning. New Jersey: Prentice-Hall; 1971.

World Health Organization. Disability and healthy [Internet]. [cited 2020 Jun 23]. Available from: http:// www.who.int/mediacentre/factsheets/fs352/en/

กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. รายงาน สถานการณ์คนพิการในประเทศไทย 2562 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 10 มิ.ย. 2563]. แหล่งข้อมูล: https://www. dep.go.th/Content/View/6113/1

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์; 2546.

สำนักกรรมาธิการสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รายงานผลการศึกษาเรื่องการจัดตั้งสถาบันพัฒนาการกีฬา คนพิการ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 2 มิ.ย. 2563]. แหล่ง ข้อมูล: https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/ parliament_parcy/main.php?filenam

Eston RG, Finney S, Baker S, Baltzopoulos V. Muscle tenderness and peak torque changes after downhill running following a prior bout of isokinetic eccentric exercise. J Sports Sci 1996;14(4):291-9.

Anuwatphrayoon K. Massage for health [Internet]. [cited 2020 Jun 23]. Available from: http://xn-22c9bqhn6b2 ce5ci6npa.blogspot.com/2013/01/blog-post_20.html.

ศิรินทิพย์ คำฟู, พนิดา หาญพิทักษ์พงศ์, ใหม่ทิพย์ สิทธิตัน, พลากร อุดมกิจปกรณ์, รัชนก น้อยสกุล, ทัศนีย์ ขุนชัย, และ คณะ. การเปรียบเทียบผลของการอบไอน้ำสมุนไพรไทย และการอบไอน้ำธรรมดาต่อความยืดหยุ่นของร่างกาย. ศรีนครินทร์เวชสาร 2558;30(6):592-97.

Marienke VM, Sidney MR, Ton Kuijpers AP, Verhagen RO, Bart WK, Maurits WT. A systematic review on the effectiveness of physical and rehabilitation interventions for chronic non-specific low back pain. Eur Spine J 2011; 20(1):19-39.

ธาริณี ขันธวิธิ. การตรวจวัดประสิทธิภาพแผ่นประคบความร้อนของงานกายภาพบำบัดโรงพยาบาลกลาง [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 15 ก.ย. 2562] แหล่งข้อมูล: http://www. klanghospital.go.th

ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ลูกประคบสมุนไพร. มหิดลสาร 2559;41(1):22-3.

Vickers JN. Visual control when aiming at far target. Journal of Experimental Psychology: Human Perception and Performance 1996;22(2):342-54.

Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement 1970;30(3):607-10.

อภิชาติ ลิมติยะโยธิน, ลุจนา ลิมติยะโยธิน, กานต์ สุขไมตรี, กุสุมาลย์ เปรมกมล, พรนภา วิเศษสุทธิมนต์, ทศพิธ วรธรรมพิทักษ์, และคณะ. คู่มืออบรมการนวดไทยแบบราชสำนัก: ภาคเทคนิค การนวดรักษาอาการโรคที่พบบ่อย. นนทบุรี: มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา; 2556.

มานพ พิทธไชย. อิทธิพลของการอบอุ่นร่างกาย 3 วิธีที่มีต่อ แรงระเบิดของกล้ามเนื้อนักกีฬา [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2540. 100 หน้า.

Kassolik K, Andrzejewski W, Brzozowski M, Wilk I, Górecka-Midura L, Ostrowska B, et al. Comparison of massage based on the tensegrity principle and classic massage in treating chronic shoulder pain. J Manipulative Physiol Ther 2013;36(7):418-27.

Fletcher IM. The effects of pre competition massages on the kinematic parameters of 20-M sprint performance. Journal of Strength and Conditioning Research 2010; 24(5):1179-83.

พยอม สุวรรณ. ผลของการประคบร้อนด้วยสมุนไพรต่อ อาการปวดข้อ ข้อฝืด และความลำบากในการทำกิจกรรมใน ผู้ป่วยโรคข้อเข่า [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2543. 169 หน้า.

Islam BMN, Uddin CJ & Jaripa B. Volatile constituents of essential oils isolated from leaf and rhizome of Zingiber cassumunar Roxb. Bangladesh J Pharmacol 2008; 3(2):69-73.

Jitlaka Thoongmanee J, Thubtang S, Tangteang J. Herb ball. TechnoMart InnoMart; 2011.

Villemure C, Slotnick BM, Bushnell MC. Effects of odors on pain perception: deciphering the roles of emotion and attention. Pain 2003;106(1-2):101- 8.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้