การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม กรณีศึกษาตำบลดู่ทุ่ง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร

ผู้แต่ง

  • มนชยา ทองดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดู่ทุ่ง จังหวัดยโสธร
  • ถนอม นามวงศ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

คำสำคัญ:

ระบบสุขภาพชุมชน, การดูแลผู้สูงอายุ, พลัดตกหกล้ม

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลระบบสุขภาพชุมชนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อ การพลัดตกหกล้ม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกคน ตำบลดู่ทุ่ง อำเภอเมืองยโสธร 480 ราย ผู้ดูแลผู้สูง อายุ และมีส่วนได้ส่วนเสีย การวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ (1) การวางแผน เพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน สำรวจสภาพปัญหา และวางแผนดำเนินงาน (2) ปฏิบัติการ (3) การสังเกตการณ์ และ (4) การสะท้อนผล ผลการศึกษา พบผู้สูงอายุ เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 22.5 การดำเนินงานที่ผ่านมาขาดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและการมีส่วนร่วมที่ เป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำแผนพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนขึ้นประกอบด้วย (1) การคัดกรองและการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง (2) การดูแลผู้สูงอายุกลุ่มป่ วย และ (3) การพัฒนาระบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง จากนั้น นำแผนสู่ การปฏิบัติ ผลการดำเนินงานส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้าน มีความรู้ ทราบช่องทางและสามารถขอความช่วยเหลือ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมและพึงพอใจต่อการดำเนินงานเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ระบบทีพัฒนาขึ้นมี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การแต่งตั้งคณะทำงาน (2) การคัดกรองผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง และการส่งเสริมสุขภาพ (3) การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และบุคลากรสาธารณสุข (4) การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและการดูแลต่อเนื่อง (5) การพัฒนาระบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และ (6) การพัฒนา ระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุ ระบบทีพัฒนาขึ้นนี้มีลักษณะผสมผสาน ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกัน การดูแลเบื้องต้น ่ การส่งต่อ และการรักษาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการมีส่วนร่วม ซึ่งควรนำไปปรับใช้ในพื้นที่อื่นๆ ทั้งนี้ ควรมีการ ติดตามประเมินผลระบบที่พัฒนาขึ้นในระยะยาว

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

เยาวลักษณ์ คุมขวัญ, อภิรดี คำเงิน, อุษณีย์ วรรณลัย, นิพร ขัดตา. แนวทางการป้ องกันการพลัดตกหกล้มที่บ้านใน ผู้สูงอายุ บริบทของประเทศไทย. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2561;28(3):10–22.

นิพา ศรีช้าง, ลวิตรา ก๋าวี. รายงานการพยากรณ์การพลัดตก หกล้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560-2564. นนทบุรี: สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค; 2560.

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. สุขภาวะ: รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2557. นนทบุรี: เดอะกราฟิ โกซิสเต็มส์; 2560.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. สถิติผู้สูงอายุ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 11 ก.พ. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www. dop.go.th/th/know/1

HDC. สถานะสุขภาพ จังหวัดยโสธร [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 6 มิ.ย. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://yst.hdc. moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_id=7f9ab56b 0f39fd053143ecc4f05354fc

เรืองเดช พิพัฒน์เยาว์กุล. ผลลัพธ์หลังจากการเกิดกระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษา. วารสารการแพทย์- โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ 2560;32(1):21– 32.

สงครามชัย ลีทองดี. การจัดการระบบสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2558.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร. Functional based: สุขภาพผู้สูงอายุ. เอกสารประกอบการตรวจราชการและ นิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2/2564 จังหวัดยโสธร. ยโสธร: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร; 2564.

มณฑา เก่งการพานิช, ธราดล เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล, กรกนก ลัธธนันท์. บันทึกไว้เป็นบทเรียน การควบคุม บุหรี่ (มวนเองหรือยา) โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์; 2557.

Kemmis S, Mc Taggart R. The action research planner. Victoria: Deakin University Press; 1990.

เขตสุขภาพที่ 10. คู่มือดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบ สุขภาพชุมชนสู่ระบบริการสุขภาพอย่างไร้รอยต่อสำหรับ ผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง stroke, STEMI และ hip fracture แบบ บูรณาการเขตสุขภาพที่ 10. อุบลราชธานี: อัลทิเมทพริ้นติ้ง; 2564.

Thiamwong L, Thamarpirat J, Maneesriwongul W, Jitapunkul S. Thai falls risk assessment test (Thai-FRAT) developed for community-dwelling thai elderly. J Med Assoc Thail 2008;91(12):1823–32.

ศูนย์จัดการข้อมูลและวิเคราะห์ทางสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Thai Care Cloud [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 12 ก.พ. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.thaicarecloud.org/

นงนุช แย้มวงษ์. คุณภาพชีวิตและความสามารถในการทำ กิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุที่มารับบริการในโรงพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ. J Med Heal Sci 2014; 21(1):36–44.

สุภาภรณ์ ทันธอัถต์, สุธรรม นันทมงคลชัย, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักดิ์ , ศุภชัย ปิติ- กุลตัง. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ ประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ในจังหวัดจันทบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2562;28(Suppl 1):s1–13.

คุณาวุฒิ วรรณจักร, พิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร. การ หกล้มในผู้สูงอายุที่กระดูกพรุน:สาเหตุและการป้ องกันด้วย การออกกำลังกาย. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา 2561;13(2):142–50.

อรษา ภูเจริญ, อรรถพล รอดแก้ว, จิตศิริน ก้อนคง, รัตนวดี ทองบัวบาน. ปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กับการหกล้มในผู้สูงอายุ ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและการสาธารณสุขชุมชน 2561;3(2):46– 54.

ทิรัศม์ชญา พิพัฒน์เพ็ญ. การประเมินประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของเทศบาลนครสงขลา. สงขลา; 2557.

พรพิไล วรรณสัมผัส. รูปแบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ด้วยกระบวนการห้าเครือข่าย ห้าร่วม ห้าคุณลักษณะ อาเภอเมืองยโสธร. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2558;24(5):1096–105.

กานดา แจ่มจรัส. การพัฒนารูปแบบกระบวนการดูแลรักษา สุขภาพผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีด้วยการแพทย์แผนไทย [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2558. 217 หน้า.

ชื่นพันธ์ วิริยะวิภาต, ศศิธร ตั้งสวัสดิ์ , สุพัตรา สิมมาทัน, บุญทนากร พรมภักดี. การพัฒนาระบบเฝ้ าระวังป้ องกัน ควบคุมวัณโรคตามแนวชายแดนไทย-ลาว ในพื้นที่จังหวัด หนองคาย ตามแนวทางการบันทึกความร่วมมือ. วารสารสำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น. 2559; 23(1):112–34.

พยงค์ ขุนสะอาด, เกวลี เครือจักร. กระบวนการมีส่วนร่วม ด้านการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ บ้านฮ่องแฮ่ ตำบลแม่ไร่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2562;28(Supp 2):s16–22.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผน พัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 2 ก.พ. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid= 6420&filename=develop_issue

กองยุทธศาสตร์และแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560- 2579. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข,; 2561.

ลักษณ์ ชุติธรรมานันท์, นิกร จันภิลม, ธนาวรรณ แสนปัญญา, สุวิชา จันทร์สุริยกุล. รูปแบบการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ในผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหัก จังหวัดแพร่ [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [สืบค้นเมื่อ 2 ก.พ. 2564]. แหล่งข้อมูล:https:// www.niems.go.th/1/upload/migrate/file/25611029 1633286135_TNG6Yw4SrMPlixdP.pdf

วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, ศิริพันธ์ สาสัตย์, พรทิพย์ มาลาธรรม, จิณณ์สิธา ณรงค์ศักดิ์ . การ พัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่น. วารสารสภาการพยาบาล 2557;29(3):104–15.

กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์. การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: บทบาทพยาบาล ชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ. วารสารพยาบาลสาธารณสุข 2516;30(3):183–95.

ทิพยาภา ดาหาร, เจทสริยา ดาวราช. การพัฒนารูปแบบการ ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลหนองเหล็ก อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม 2561;2(3):42– 54.

เขตสุขภาพที่ 10. แนวทางจัดระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ สำหรับโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ภาวะหัวใจขาดเลือด ชนิด STEMI และกระดูกสะโพกหัก (hip fracture) ภายใต้ โครงการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนสู่ระบบริการสุขภาพอย่าง ไร้รอยต่อ สำหรับผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง Stroke, STEMI และ Hip fracture. อุบลราชธานี: อัลทิเมทพริ้นติ้ง; 2564.

พิศสมัย บุญเลิศ, เทอดศักดิ์ พรหมอารักษ์, ศุภวดี แถวเพีย. การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง สำหรับ ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน-ติดเตียงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดงมัน ตำบลโคกสิงห์โคก อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น 2559;23(2):79–87.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-02-25

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้