แนวทางการพัฒนารูปแบบทางข้ามเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการสัญจรปลอดภัย ในพื้นที่เมืองเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

ผู้แต่ง

  • สุภาพร พุทธรัตน์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี
  • นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
  • ณรงค์ศักดิ์ ทองธรรมชาติ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี
  • สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดชลบุรี

คำสำคัญ:

การพัฒนารูปแบบ, ทางข้ามถนนปลอดภัย, เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

บทคัดย่อ

การวิจัยแบบผสมผสานนี้มีเป้ าประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนารูปแบบทางข้ามถนน ปลอดภัยเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการสัญจรปลอดภัยในพื้นที่เมือง จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้จากการวิเคราะห์สถานการณ์ อุบัติเหตุทางถนนและลักษณะประชากรของผู้ประสบภัยประเภทที่ 3 ข้อมูลการสำรวจทัศนคติของกลุ่มตัวอย่างใน พื้นที่ศึกษาทั้ง 3 จังหวัด ซึ่งสะท้อนถึงทัศนคติเชิงลบด้านทางข้ามถนนปลอดภัย กฎหมายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับ ทางม้าลาย ข้อค้นพบนี้สนับสนุนข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกที่สะท้อนมุมมองต่างๆ ของผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่ม ต่างๆ เกี่ยวกับมาตรฐานทางข้ามถนนปลอดภัยสำหรับเส้นทางหลัก เส้นทางรอง ความเสี่ยงของทั้งผู้ใช้ทางม้าลาย และผู้ขับขี่ รวมถึงมุมมองต่างๆ ที่ได้จากผู้กำหนดนโยบาย/ผู้มีอำนาจตัดสินใจ เกี่ยวกับทางม้าลายอัจฉริยะโดยที่ ปรับใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาทางข้ามถนนปลอดภัย ประการสำคัญที่ได้จากการประชุมหารือเชิงนโยบาย ของผู้นำกลุ่มต่างๆ คือ ประเด็นเร่งด่วนที่แนะนำให้ดำเนินการต่างๆ โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายหลักที่เกี่ยวข้อง กับการขับเคลื่อนนโยบายการสัญจรปลอดภัยในพื้นทีชุมชนเมืองในเขต EEC คือ การพัฒนารูปแบบทางข้ามปลอดภัย ่ สามารถดำเนินการควบคู่กันไปทั้งในเรื่องการสร้างและการพัฒนาทางม้าลายอัจฉริยะและวินัยจราจรในการขับขี่และ การใช้ทางม้าลาย

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Kaul I, Mendoza RU. Advancing the concept of public goods. Oxford: Oxford University Press 2003:78-111.

ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน. คู่มือการออกแบบ ทางข้ามถนนที่ปลอดภัย [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 2 ต.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: http://www.roadsafetythai.org/

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรมทางหลวง. คู่มือและมาตรฐานความปลอดภัยการจราจรและ ขนส่ง [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 5 ต.ค.2565]. แหล่ง ข้อมูล:https:// www. otp.go.th/ uploads/ tiny_uploads/ OTPStandard/1-2-SafetyTransport02.pdf

Jedli´nski M, Sosik-Filipiak K. The role of crosswalks in the smart city concept implementation from the “iGen” perspective. Energies 2022;15:5661.

Zegeer CV, Richard Stewart J, Huang H, Lagerwey P. Safety effects of marked versus unmarked crosswalks at uncontrolled locations: Analysis of pedestrian crashes in 30 cities. Transportation Res Record 2001;1773(1):56– 68.

Supadech B, Vorapatr T. Legal issues of pedestrian safety on pedestrian crossings. J MCU Nakhondhat 2023;10(4):239-51.

Mitman MF, Ragland DR. Driver/pedestrian understanding and behavior at marked and unmarked crosswalks - Final Report. 2008 [Internet]. [cited 2022 Oct 1]. Available from: https://escholarship.org/uc/item/7xn8m790

Thiangpungtham V, Raksuntorn W, Witchayangkoon B, Raksuntorn N. Chayanan S. A study of pedestrian signals in Thailand. Int Trans I Eng Manag Sci Tech 2019; 11(4):11A04R.

Tanaboriboon Y, Gyyano JA. Analysis of pedestrian movements in Bangkok. Transportation Res Record 1991;1294(9):52–6.

Doi K, Sunagawa T, Inoi H, Yoh K. Transitioning to safer streets through an integrated and inclusive design. IATSS Res 2016;39:87-94.

Hsu YL, Chou PH, Chang HC, Lin SL, Yang SC, Su HY, et al. Design and implementation of a smart home system using multisensor data fusion technology. Sensors (Basel) 2017;17(7):1631.

Nimac P, Krpič A, Batagelj B, Gams A. Pedestrian traffic light control with crosswalk FMCW radar and group tracking algorithm. Sensors (Basel) 2022;22(5): 1754.

Pau G, Campisi T, Canale A, Severino A, Collotta M, Tesoriere G. Smart pedestrian crossing management at traffic light junctions through a fuzzy-based approach. Future Internet 2018; 10(2): 15.

Porouhan P, Premchaiswadi W. Proposal of a smart pedestrian monitoring system based on characteristics of internet of things (IoT). The 18th International Confer ence on ICT and Knowledge Engineering; 18-20 November 2020; Bangkok, Thailand [Internet]. [cited 2022 Oct 1]. Available from: DOI: 10.1109/ICTKE50349.2020.9289891

Mead J, Zegeer C, Bushell M. Evaluation of pedestrian-related roadway measures: a summary of available research. Chapel Hill, North Carolina: Pedestrian and Bycycle Information Center; 2014.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 10 มี.ค. 2566]. แหล่งข้อมูล: http://www.ratchakitcha.soc.go.th

สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทน ราษฎร. กระทรวงคมนาคมและแผนงานบูรณาการพัฒนา ด้ านคมนาคมและโลจิสติกส์. เอกสารสำหรับคณะ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ. 2563 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 2 ต.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://library.parliament.go.th

Shorten A, Smith J. Mixed methods research: expanding the evidence base. Evid Based Nurs 2017;20(3):74-5.

กระทรวงคมนาคม สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและ จราจร. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงคมนาคม; 2564.

Yamane T. Statistics: an introductory analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row Publications; 1973.

กรมการปกครอง. ระบบสถิติทางการทะเบียน [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 31 ก.ย. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://stat.bora. dopa.go.th/new_stat/webPage/statByYear.php

ศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ. จำนวนผู้ประสบภัยสะสมประเภทที 3 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้น ่ เมื่อ 31 ก.ย. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www.thairsc.com

Moyce S, Comey D, Anderson J, Creitz A, Hinnes D, Metcalf M. Using the social ecological model to identify challenges facing Latino immigrants. Public Health Nurs 2023;40(5):724-33.

Carter N, Bryant-Lukosius D, DiCenso A, Biythe J, Neville AJ. The use of triangulation in qualitative research. Oncol Nurs Forum 2014;41(5):545-7.

Kiger ME, Varipo L. Thematic analysis of qualitative data: AMEE Guide No. 131. Med Tech 2020;42(8):846- 54.

Mitchell P, Reinap M, Moat K, Kuchenmüller T. An ethical analysis of policy dialogues. Health Res Policy Syst 2023;21(1):13.

Health Policy Project. Capacity Development Resource Guide: Policy Dialogue. Washington, DC: Futures Group, Health Policy Project; 2014.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้