Evaluations of Bed-nets Treated with Permethrin 10% E.C. for Malaria Control -การประเมินผลชุบมุ่งด้วยเพอร์เมทริน 10 % อี.ซี. ในการควบคุมไข้มาลาเรีย

ผู้แต่ง

  • Surang Tanpradist
  • Suthas Nutsathapana
  • Nilobol Theerasilp
  • Uthai Traitan
  • Piti Mongkalangoon

คำสำคัญ:

-

บทคัดย่อ

              A field trial of malaria control using 0.3 gm Permethrin per square meter impregnated bed.no was carried out in a village of Tak Province, to evaluate the impact on densities of malaria ve in reducing transmission and acceptance by the people involving impregnation of bed. non During February - December 1993, pre and post treated bed-nets observation was carried out entomological study was conducted 4 nights a month (18.00 - 24.00 hrs.) and captured in mosquitoes at the window trap of the experimental hut in the morning. The epidemiological and operational data of the village was collected from responsible malaria officers of Malaria Sem 6 Mae Ku. Surveyon KAP of people in study area was undertaken using interview form. The resulta were shown, the longevity and vectorial capacity of An. dirus and An. minimus declined after the introduction of impregnated bed nets and were significantly reduced 65.7% and 83.7% to 39 50 and 58.4% respectively. After treatment for 3 months, effect on biting densities of the 2 vectors were reduced to 33.3% and 44% respectively. For excito-repellency effect, we found that the vectors densities increased in outdoor and indoor-untreated bed-nets. The mosquitoes entered the experimental hut and escaped into the window trap were increasing in mortality of mosquitoes with the rate of 30-40%. After treatment for 6 months, no significant biting densities before and after impregnation of bed-nets were observed, due to 60% of the permethrin degradation. Therefore, base on the above mentioned studies, reimpregnation of bed-nets shoud be done at 3 monthly interval. Though malaria incidence was reduced, transmission was not completely interrupted during the study period, due to outdoor transmission. The acceptance of the permethrin impregnation of bed-nets in the village was 89.3%.

            ได้ประเมินผลมาตรการชุบมุ่งด้วยเพอร์เมทริน 10% อี.ซี. ขนาด 0.3 กรัมต่อตารางเมตร เพื่อทราบผลกระทบ ในด้านความหนาแน่นยุงพาหะมาลาเรีย การแพร่ระบาดของไข้มาลาเรีย และการยอมรับของประชาชนต่อการชุบ มัง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง ได้ดําเนินการในหมู่บ้านหนึ่งของจังหวัดตาก ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ธันวาคม 2536 แบ่งการศึกษาเป็นก่อนและหลังชุบมุ่ง ศึกษากีฏวิทยาเดือนละ 1 ครั้งๆ ละ 4 คืน (18.00 - 24.00 น.) และ จับยุงที่หนีรอดออกมาจากกระท่อมทดลองในเวลาเช้าด้วย นอกจากนี้มีการสํารวจ KAPในหมู่บ้านโดยวิธีสัมภาษณ์ ข้อมูลระบาดวิทยาได้รวบรวมจากส่วนมาลาเรียที่ 6 แม่กุ ผลการศึกษาพบว่า การใช้มุ่งชุบเพอร์เมทรินทําให้ยุง พาหะ An dirus และ An minimus มีอายุขัยและสมรรถนะการแพร่เชื้อลดลง 65.7% และ 83.7%, 39.5% และ 58.49% ตามลําดับ ซึ่งลดลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ หลังชุบรุ้ง 3 เดือน ความหนาแน่นของยุงพาหะทั้ง 2 ชนิด ลดลง 33.3% และ 449% ตามลําดับ ยุงหลีกเลี่ยงที่จะเข้าในบ้านชุบมุ่ง แต่ออกหากินนอกบ้านและในบ้าน-ไม่ชุบ มากขึ้น ยุงที่เข้ากระท่อมทดลองและหนีรอดออกมา มีอัตราตาย 30 - 40% หลังชุบรุ้ง 6 เดือน ความหนาแน่นของยุงพาหะก่อนและหลังชุบมุ่งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ยุงพาหะหากินในบ้านชุบมุ่งมากขึ้น เนื่องจากเพอร์-เมทรินเสื่อมสลายไปถึง 60% ดังนั้นควรพิจารณาชุบมุ่งทุกๆ 3 เดือน ถึงแม้ว่าอุบัติการของไข้มาลาเรียลดลง แต่ยังมีการแพร่เชื้อนอกหมู่บ้านอยู่ และประชาชน 89.3% มีความยินดีให้ชุบมุ่งและยอมรับการใช้มาตรการนี้

Downloads

Download data is not yet available.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2019-05-25

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ