การจัดฟันในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ที่มีฟันซ้อนเกรุนแรง

ผู้แต่ง

  • จุฑามาศ สุจิพงศ์

คำสำคัญ:

การจัดฟัน, ปากแหว่ง, เพดานโหว่, ฟันซ้อนเกรุนแรง

บทคัดย่อ

          ผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ชายไทย อายุ 15 ปี มาพบทันตแพทย์ด้วยปัญหาฟันหน้าซ้อนเกรุนแรง จากการตรวจทางคลินิกพบว่ามีรูปร่างใบหน้าด้านข้างอูม และจากภาพรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้างให้การวินิจฉัยว่ามีโครงสร้างความสัมพันธ์ขากรรไกรบนล่างเป็นแบบที่หนึ่ง การสบฟันกรามเป็นแบบที่หนึ่ง แผนการรักษาคือ การรักษาทางทันตกรรมจัดฟันเพียงอย่างเดียว ผลการรักษาพบว่า ผู้ป่วยมีการสบฟันที่ดีขึ้นและรูปร่างใบหน้าที่น่าพอใจ รายงานผู้ป่วยรายนี้อาจใช้พิจารณาเป็นทางเลือกประเมินการรักษาให้เหมาะสมในผู้ป่วยรายอื่นได้

         

คำสำคัญ: การจัดฟัน, ปากแหว่ง, เพดานโหว่, ฟันซ้อนเกรุนแรง

เอกสารอ้างอิง

ศิวกร เจียรนัย, สุกัญญา เธียรวัฒน์. ระบาดวิทยาของภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ในประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมจาก พ.ศ. 2501 ถึงปัจจุบัน. วิทยาสารออนไลน์สมาคมทันตแพทย์จัดฟันแห่งประเทศไทย 2563;2:27-36.

ศันสนีย์ อนันต์สกุลวัฒน์, นิตา วิวัฒนทีปะ, บรรณาธิการ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปากแหว่งเพดานโหว่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง; 2555.

นิธิภาวี ศรีสุข. หลักการพื้นฐานในการรักษาการสบฟันผิดปกติ. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2546.

พนิตนาฎ คงกระพันธ์, วิภาพรรณ ฤทธิ์ถกล. แนวทางการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันในระยะฟันแท้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่. วิทยาสารออนไลน์สมาคมทันตแพทย์จัดฟันแห่งประเทศไทย 2563;1:12-22.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-02-15

วิธีการอ้างอิง

สุจิพงศ์ จุฑามาศ. 2022. “การจัดฟันในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ที่มีฟันซ้อนเกรุนแรง”. Region 3 Medical and Public Health Journal - วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 19 (1). Nakhonsawan Thailand:52. https://thaidj.org/index.php/smj/article/view/11581.

ฉบับ

บท

รายงานผู้ป่วย (Case Report)