ศูนย์อาเซียนด้านสาธารณสุขฉุกเฉินและโรคอุบัติใหม่: ข้อเสนอของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • มยุรี วิโนทัย กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • สุรีย์วัลย์ ไทยประยูร กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • รัชกร แก้วเปรมกุศล กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร ที่ปรึกษาสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขด้านต่างประเทศ
  • วลัยพร พัชรนฤมล กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

บทคัดย่อ

การระบาดของโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงด้านสุขภาพและเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียนอย่างมีนัยสำคัญ จากผลกระทบดังกล่าวทำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความเข้มแข็งในการ เตรียมพร้อมรับมือกับภัยสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นอีกในอนาคต จึงได้เสนอให้จัดตั้งศูนย์อาเซียนด้านสาธารณสุขฉุกเฉิน และโรคอุบัติใหม่ (ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases: ACPHEED) เพื่อ เสริมสร้างขีดสมรรถนะของภูมิภาคอาเซียนในการเตรียมความพร้อมและตอบโต้ต่อภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข และโรคอุบัติใหม่ ซึ่งต่อมาที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสของอาเซียนด้านการพัฒนาสาธารณสุข (Senior Officials’ Meeting on Health and Development: SOMHD) ได้เห็นชอบให้ดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้ง ACPHEED โดยผลการศึกษาพบว่ามีความเป็นไปได้และมีความจำเป็นในการจัดตั้ง ACPHEED และต่อมาประเทศ สมาชิกอาเซียนหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทย แสดงความสนใจและเสนอตัวเป็นประเทศที่ตั้ง ACPHEED หลักฐานเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีสมรรถนะความมั่นคงด้านสุขภาพที่โดดเด่นมากที่สุด สะท้อนจาก การที่ไทยได้รับการจัดอันดับว่ามีความมั่นคงด้านสุขภาพเป็นอันดับ 6 จาก 195 ประเทศของโลก ในปี ค.ศ. 2019 และเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภูมิภาคเอเชีย จากนั้นได้มีการจัดประชุม SOMHD สมัยพิเศษขึ้นอีกหลายครั้ง ในปี พ.ศ. 2563 - 2564 เพื่อคัดเลือกประเทศที่มีความเหมาะสมเป็นที่ตั้ง ACPHEED ซึ่งในกลางปี พ.ศ. 2564 เหลือประเทศคู่แข่งเพียง 3 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย ไทย และเวียดนาม ที่ยังคงยืนยันจะเป็นประเทศที่ตั้งของ ACPHEED โดยไม่มีความยืดหยุ่นในการเจรจาแต่อย่างใด ทำให้กระบวนการคัดเลือกประเทศที่ตั้ง ACPHEED ยืด เยื้อมาเกือบ 2 ปี ท่ามกลางความกดดันทางการเมืองจากประเทศญี่ปุ่ นที่ได้ประกาศสนับสนุนงบประมาณในการจัด ตั้ง ACPHEED บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภูมิหลังการจัดตั้งศูนย์อาเซียนด้านภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และโรคอุบัติ-ใหม่ ข้อเสนอของประเทศไทยในการเป็นประเทศทีเป็นที ่ ตั้งศูนย์ฯ และภูมิทัศน์ของกระบวนการปรึกษา ่ และเจรจาต่อรองเพื่อตัดสินใจประเทศทีตั้ง ACPHEED รวมถึงประเด็นความท้าทายในการคัดเลือกประเทศที ่ เป็นที ่ ตั้ง่ ของ ACPHEED ในช่วงไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2565

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. WHO coronavirus (COVID-19) dashboard [Internet]. 2021 [cited 2022 Oct 31]. Available from: https://covid19.who.int/ ?mapFilter=cases

ASEAN BioDiaspora Virtual Center (ABVC). COVID-19 and monkeypox situation Report in the ASEAN+3 Region. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2022.

โสภิต นาสืบ. รายงานผลการทบทวนผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ และสังคมจากการระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับโลกและ ในประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 30 มี.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://ddc.moph.go.th/uploads/ publish/1177420210915075055.pdf

Mahler DG, Lakner C, Aguilar RAC, Wu H. Updated estimates of the impact of COVID-19 on global poverty [Internet]. 2020 [Cited 2022 Oct 30]. Available from: https://blogs.worldbank.org/opendata/updated-estimates-impact-covid-19-global-poverty

United Nations. Policy brief: the impact of COVID-19 on South - East Asia [Internet]. 2020 [cited 2022 Mar 30]. Available from: https://unsdg.un.org/sites/default/ files/ 2020-07/SG-Policy-brief-COVID-on-SouthEast-Asia.pdf

ASEAN Secretariat. Chairman’s Statement of the 37th ASEAN Summit [Internet]. 2020 [cited 2022 Apr 1]. Available from: https://asean.org/chairmans-statementof-the-37th-asean-summit/

ASEAN Secretariat. Information paper on the ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases (ACPHEED). Final Special Video Conference of ASEAN SOMHD on the Host Country Selection for ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases; 2021 Oct 18; Jakarta, Indonesia. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2021.

ASEAN Secretariat. 1st ASEAN policy brief: economic impact of COVID-19 outbreak on ASEAN [Internet]. 2020 [cited 2022 Mar 31]. Available from: https:// asean.org/book/ 1st-asean-policy-brief-economicimpact-of-covid-19-outbreak-on-asean/

ASEAN Secretariat. ASEAN cooperation project proposal: a feasibility study on the establishment of “ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases”. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2020.

McKinsey & Company. Feasibility study on the establishment of “ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases”: feasibility study report. ASEAN Magazine 2020;2020(3):31.

ASEAN Secretariat. Chairman’s statement of the 23rd ASEAN-Japan Summit [Internet]. 2020 [cited 2022 Apr 1]. Available from: https://asean.org/wp-content/ uploads/48-Final-Chairmans-Statement-of-the-23rdASEAN-Japan-Summit.pdf

ASEAN Secretariat. Summary and ways forward. follow-up special video conference of ASEAN SOMHD on ACPHEED Host Country Selection; 2021 Sep 23; Jakarta, Indonesia. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2021.

World Health Organization. International health regulation 2005. 3rd ed [Internet]. 2016 [cited 2022 Apr 1]. Available from: https://www.who.int/ publications/i/ item/9789241580496

Ministry of Public Health. ACPHEED: Thailand’s proposal. follow-up special video conference of the ASEAN SOMHD on the host country selection for the ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases (ACPHEED); 2021 Nov 23; Nonthaburi, Thailand. Nonthaburi: Ministry of Public Health; 2021.

Cameron E, Nuzzo JB, Bell JA. Global health security index [Internet]. 2019 [cited 2022 Apr 1]. Available from: https://www.ghsindex.org/wp-content/uploads/2019/10/2019-Global-Health-Security-Index. pdf

Ministry of Public Health. ACPHEED: beyond the limit: Thailand’s Proposal. Follow-up special video conference of the ASEAN SOMHD on the host country selection for the ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases (ACPHEED); 2022 Feb 24. Nonthaburi, Thailand. Nonthaburi: Ministry of Public Health; 2022.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. ขออนุมัติกรอบการเจรจาและ ข้อเสนอของไทยเพื่อจัดตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อภาวะฉุกเฉินทาง สาธารณสุขและโรคอุบัติใหม่ในประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2563. [สืบค้นเมื่อ 5 เม.ย. 2565]. แหล่งข้อมูล: https:// resolution.soc.go.th/PDF_UPLOAD/2563/P_ 402300 _1.pdf

พระราชบัญญัติเอกสิทธิ์ และความคุ้มกันสำหรับองค์การ ระหว่างประเทศและการประชุมระหว่างประเทศใน ประเทศไทย พ.ศ. 2561. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 135, ตอนพิเศษ 97 ก (ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2561).

ASEAN Secretariat. Summary of agreements. Follow-up special video conference of the ASEAN SOMHD on the Host Country Selection for the ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases (ACPHEED); 2020 Nov 23; Jakarta, Indonesia. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2020.

Association of Southeast Asian Nations. ASEAN Charter [Internet]. 2020 [cited 2022 Apr 5]. Available from: https://asean.org/wp-content/uploads/2021/08/November-2020-The-ASEAN-Charter-28th-Reprint.pdf

Malhotra D. Negotiating the impossible. Oakland: Berrett-Koehler Publishers; 2016.

McKinsey & Company. Presentation on comparative advantage of model 1 and model 2, presented at the follow up special video conference of the ASEAN SOMHD on the host country selection for the ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases (ACPHEED); 2021 Feb 24. Jakarta, Indonesia. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2021.

ASEAN Secretariat. Summary report. 16th ASEAN Senior Officials’ Meeting on Health Development; 2021 Oct 19-20; Jakarta, Indonesia. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2021.

ASEAN Coordinating Council Working Group on Public Health Emergencies. Report of the 8th meeting of the ASEAN Coordinating Council Working Group on Public Health Emergencies. 2022. Jakarta, Indonesia. Jakarta: ASEAN Secretariat; 2022.

Executive Office of the President National Security Council. Indo-Pacific strategy of the United States [Internet]. 2022 [cited 2022 Feb 20]. Available from: https://www.whitehouse.gov/wp-content/uploads/ 2022/02/U.S.-Indo-Pacific-Strategy.pdf

ASEAN Secretariat. ASEAN post 2015 health development agenda 2021-2025 [Internet]. 2022 [cited 2022 May 31] Available from: https://asean.org/wp-content/ uploads/2022/05/1.-Summary_ASEAN-Post-2015- Health-Development-Agenda-2021-2025_16thSOMHD-endorsed-1.pdf

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-12-18

วิธีการอ้างอิง

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้