ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ และการวิเคราะห์เชิงอภิมาน

ผู้แต่ง

  • นิโลบล นาคบำรุง สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ยศวดี เพ็ชรคำ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ศศิธร แดงเจย์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • สุกัญญา บุญช่วย สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • ตั้ม บุญรอด สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • วิชชาดา สิมลา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ

คำสำคัญ:

วัณโรค, ดื้อยาหลายขนาน, ผลการรักษา

บทคัดย่อ

วัณโรคดื้อยาหลายขนาน (multidrug-resistance tuberculosis: MDR-TB) ยังเป็นปัญหาสุขภาพทั้งในระดับโลกและระดับประเทศจนถึงปัจจุบัน จากรายงานวัณโรคขององค์การอนามัยโลก ปี พ.ศ. 2560 คาดประมาณผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน/ดื้อยาไรแฟมพิซิน จะมีประมาณ 558,000 คน ซึ่งมีผลการรักษาสำเร็จเพียง ร้อยละ 55.00 ไม่สำเร็จ ร้อยละ 45.00 ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาผลการรักษาผู้ป่ วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน และศึกษาระยะเวลาที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2551- พ.ศ. 2561 โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลทั้งหมดโดยค้นหางานวิจัยจากฐานข้อมูล PubMed, Science Direct, Cochrane library, Google Scholar, วารสารวัณโรค โรคทรวงอก และเวชบำบัดวิกฤต วารสารวิชาการสาธารณสุขวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข และวารสารกรมควบคุมโรค โดยคัดเลือกเฉพาะบทความวิจัยที่ตรงกับเกณฑ์การคัดเข้า ได้บทความวิจัยทั้งหมด 16 ฉบับ จากนั้นทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า ผลการรักษาผู้ป่ วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน จากจำนวนตัวอย่างทั้งหมด 4,535 คน รักษาหาย (cured) ร้อยละ 51.00 (95%CI = 44.00-58.00) รักษาครบ (treatment completed) ร้อยละ 33.00 (95%CI = 10.00 - 55.00) รักษาล้มเหลว (treatment failed) ร้อยละ 5.00 (95%CI = 2.00-8.00) ขาดยา (lost to follow-up) ร้อยละ 13.00 (95%CI = 9.00-17.00) เสียชีวิต (died) ร้อยละ 13.00 (95%CI = 10.00-16.00) และพบว่าระยะเวลาที่ผู้ป่ วย ได้รับการรักษาจะอยู่ในช่วงระหว่าง 8.20–30.00 เดือน ข้อเสนอแนะ ในการดูแลรักษาผู้ป่ วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานควรมีระบบการติดตามกำกับการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร: สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค; 2561.

สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. แนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP Guidelines) 2556. กรุงเทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2556.

Raviglione MC. Tuberculosis: the essentials. 4th Edition. Boca Raton, Florida: CRC Press; 2009.

World Health Organization. Global tuberculosis report 2018. Geneva: World Health Organization; 2018.

World Health Organization. Gobal tuberculosis report 2017. Geneva: World Health Organization; 2017.

สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. แนวทางการบริหารจัดการผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2558.

สมบัติ แทนประเสริฐสุข, จิตรลดา อุทัยพิบูลย์, ก่อพงษ์ ทศพรพงศ์, จันทิรา สุขะสิฐษ์วณิช, วัลภา จุลเวช. ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน โรงพยาบาลมะการักษ์ ปี 2550-2558. วารสารควบคุมโรค 2560; 43(4):400-12.

ยงยุทธ เม้ากำเหนิด, สมศรี คำภีระ, สุพร กาวินำ, กิตติพัทธ์ เอี่ยมรอด, วิทยา สวัสดิวุฒิพงศ์. สถานการณ์วัณโรคดื้อยาหลายขนาน จังหวัดตาก ปีงบประมาณ 2554 - เมษายน 2557. วารสารวัณโรค โรคทรวงอก และเวชบำบัดวิกฤต 2558;35(1):8-17.

Huerga H, Bastard M, Kamene M, Wanjala S, Arnold A, Oucho N, et al. Outcomes from the first multidrug-re-sistant tuberculosis programme in Kenya. Int J Tuberc Lung Dis 2017;21(3):314-9.

Kawatsu L, Uchimura K, Izumi K, Ohkado A, Yoshi-yama T. Treatment outcome of multidrug-resistant tu-berculosis in Japan - the first cross-sectional study of Japan tuberculosis surveillance data. BMC Infect Dis 2018;18(1):445.

Rajbhandary S, Marks S, Bock N. Costs of patients hospitalized for multidrug-resistant tuberculosis. The International Journal of Tuberculosis and Lung Disease 2004;8(8):1012-6.

Resch SC, Salomon JA, Murray M, Weinstein MC. Cost-ef-fectiveness of treating multidrug-resistant tuberculosis. PLoS Medicine 2006;3(7):e241.

Kang YA, CHOI YJ, CHO YJ, Lee SM, YOO CG, Kim YW, et al. Cost of treatment for multidrug‐resistant tuberculosis in South Korea. Respirology 2006;11(6):793-8.

Floyd K, Hutubessy R, Kliiman K, Centis R, Khurieva N, Jakobowiak W, et al. Cost and cost-effectiveness of multidrug-resistant tuberculosis treatment in Estonia and Russia. European Respiratory Journal 2012;40(1):133-42.

Tang S, Tan S, Yao L, Li F, Li L, Guo X, et al. Risk Factors for Poor Treatment Outcomes in Patients with MDR-TB and XDR-TB in China: RetrospectiveMulti-Center Investigation. PLOS ONE 2013;8(12): e82943.

Chang J-T, Dou H-Y, Yen C-L, Wu Y-H, Huang R-M, Lin H-J, et al. Effect of type 2 diabetes mellitus on the clinical severity and treatment outcome in patients with pulmonary tuberculosis: a potential role in the emergence of multidrug resistance. Journal of the Formosan Med-ical Association 2011;110(6):372-81.

Farley JE, Ram M, Pan W, Waldman S, Cassell GH, Chaisson RE, et al. Outcomes of multi-drug resistant tuberculosis (MDR-TB) among a cohort of South Af-rican patients with high HIV prevalence. PloS One 2011;6(7):e20436.

Brust JC, Shah NS, Scott M, Chaiyachati K, Lygizos M, van der Merwe TL, et al. Integrated, home-based treat-ment for MDR-TB and HIV in rural South Africa: an alternate model of care [Perspectives]. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease 2012;16(8): 998-1004.

Palacios E, Franke M, Munoz M, Hurtado R, Dallman R, Chalco K, et al. HIV-positive patients treated for multidrug-resistant tuberculosis: clinical outcomes in the HAART era. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease 2012;16(3):348-54.

Anderson L, Tamne S, Watson J, Cohen T, Mitnick C, Brown T, et al. Treatment outcome of multi-drug resis-tant tuberculosis in the United Kingdom: retrospec-tive-prospective cohort study from 2004 to 2007. Eurosurveillance 2013;18(40):20601.

Falzon D, Schünemann HJ, Harausz E, González-An-gulo L, Lienhardt C, Jaramillo E, et al. World Health Organization treatment guidelines for drug-resistant tuberculosis, 2016 update. European Respiratory Journal 2017;49(3):1602308.

World Health Organization. Companion handbook to the WHO guidelines for the programmatic management of drug-resistant tuberculosis. Geneva: World Health Or-ganization; 2014.

World Health Organization. Definitions and reporting framework for tuberculosis–2013 revision. Geneva: World Health Organization; 2013.

Heller T, Lessells R, Wallrauch C, Bärnighausen T, Cooke G, Mhlongo L, et al. Community-based treatment for multidrug-resistant tuberculosis in rural KwaZulu-Natal, South Africa. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease 2010;14(4):420-6.

Nagaraja C, Shashibhushan B, Asif M, Manjunath P, Sagar C. Pattern of drug-resistance and treatment outcome in multidrug-resistant pulmonary tuberculosis. Indian Journal of Chest Diseases & Allied Sciences 2012; 54(1):23-6.

Ünsal E, Güler M, Ofluoglu R, Capan N, Cimen F. Factors associated with treatment outcome in 64 HIV negative patients with multidrug resistant tuberculosis. Journal of Thoracic Disease 2013;5(4):435.

Loveday M, Padayatchi N, Wallengren K, Roberts J, Brust JC, Ngozo J, et al. Association between health systems performance and treatment outcomes in patients co-infected with MDR-TB and HIV in KwaZulu-Natal, South Africa: implications for TB programmes. PLoS One 2014;9(4):e94016.

มาลี เกิดพันธุ์, ปิ่ นกมล สมพีร์วงศ์. สถานการณ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการรักษา สำเร็จของผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานที่ขึ้นทะเบียนรักษา ณ โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป พื้นที่บริการสุขภาพที่ 6. วารสารวัณโรค โรคทรวงอก และเวชบำบัดวิกฤต 2556;34(3):95-102.

Charles M, Vilbrun SC, Koenig SP, Hashiguchi LM, Mabou MM, Ocheretina O, et al. Treatment outcomes for patients with multidrug-resistant tuberculosis in post-earthquake Port-au-Prince, Haiti. American Jour-nal of Tropical Medicine and Hygiene 2014;91(4):715-21.

นพดล วันต๊ะ, กิตติพัทธ์ เอี่ยมรอด, วิทยา สวัสดิวุฒิพงศ์. ลักษณะของผู้ป่ วยวัณโรคที่เคยมีประวัติการรักษามาก่อน. วารสารวัณโรค โรคทรวงอก และเวชบำบัดวิกฤต 2558; 35(4):123-30.

Patel SV, Nimavat KB, Alpesh PB, Shukla LK, Shring-arpure KS, Mehta KG, et al. Treatment outcome among cases of multidrug-resistant tuberculosis (MDR TB) in Western India: A prospective study. J Infect Public Health 2016;9(4):478-84.

Olaru ID, Lange C, Indra A, Meidlinger L, Huhulescu S, Rumetshofer R. High rates of treatment success in pulmonary multidrug-resistant tuberculosis by indivi- dually tailored treatment regimens. Ann Am Thorac Soc 2016;13(8):1271-8.

Janmeja A, Aggarwal D, Dhillon R. Analysis of treatment outcome in multi-drug resistant tuberculosis patients treated under programmatic conditions. International Journal of Research in Medical Sciences 2017;5(6):2401-5.

Yu MC, Chiang CY, Lee JJ, Chien ST, Lin CJ, Lee SW, et al. Treatment outcomes of multidrug-resistant tuber-culosis in Taiwan: tackling loss to follow-up. Clin Infect Dis 2018;67(2):202-10.

Xu C, Pang Y, Li R, Ruan Y, Wang L, Chen M, et al. Clinical outcome of multidrug-resistant tuberculosis patients receiving standardized second-line treatment regimen in China. Journal of Infection 2018;76(4):348-53.

วิวรรธน์ มุ่งเขตกลาง, ปวีณา จังภูเขียว, กรรณิการ์ ตฤณ- วุฒิพงษ์. สาเหตุและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสียชีวิตของ ผู้ป่ วยวัณโรคระหว่างการรักษา ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2552–2553. สำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น 2559;23(1):22-34.

Molalign S, Wencheko E. Risk factors of mortality in patients with multi-drug resistant TB. Ethiop J Health Dev. 2015;29.

เจริญศรี แซ่ตั้ง. ลักษณะของผู้ป่ วยวัณโรคและปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการเสียชีวิตระหว่างการรักษา ของผู้ป่ วยวัณโรคปอดรายใหม่ในภาคเหนือตอนบน ปี 2005-2014. วารสาร-ควบคุมโรค 2560;43(4):436-47.

Gandhi NR, Andrews JR, Brust JC, Montreuil R, Weiss-man D, Heo M, et al. Risk factors for mortality among MDR-and XDR-TB patients in a high HIV prevalence setting. International Journal of Tuberculosis and Lung Disease 2012;16(1):90-7.

Tupasi TE, Garfin AMCG, Kurbatova EV, Mangan JM, Orillaza-Chi R, Naval LC, et al. Factors associated with loss to follow-up during treatment for multidrug-resistant tuberculosis, the Philippines, 2012–2014. Emerging infectious diseases. 2016;22(3):491.

อรทัย ศรีทองธรรม, อุบลศรี ทาบุดดา, ชุติมา ผลานันท์, อมรรัตร์ จงตระการสมบัติ, ศิริวรรณ อุทธา. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดยาและการรักษาล้มเหลวในผู้ป่ วยวัณโรคดื้อยาในพื้นที่ สำนักงานควบคุมป้ องกันโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2017;26(2):S289-S98.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-08-28

วิธีการอ้างอิง

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้