Factors Influencing New Normal Behavior in The Situation of COVID-19 on Working People in Mueang District, Nakhon Sawan Province

Authors

  • Nathanan Phusrites Mahidol University Nakhonsawan Campus
  • Saranya Limsaiphrom Mahidol University Nakhonsawan Campus

Keywords:

new normal behavior, working – people, COVID – 19, social media net work

Abstract

Objectives   :     To study the level of new normal behavior and factors influence new normal behavior in the situation of COVID-19  on working  people in Muang District, Nakhon Sawan Province.

Method       :   The cross-sectional had been done. 442 working people age between 25-59 years old living in Muang District, Nakhon Sawan Province were designed as a  sample group. Data collected during 13-31 March 2021 by using questionnaires and analyzed in descriptive statistics, multiple regression analysis with statistically significant at P-value < 0.05.

Results        :   The study found that 92.5% of the sample had high level of new normal  behavior. The factors influenced new normal behavior were occupation, chronic disease, anxiety of COVID – 19, knowledge of COVID – 19, social support and social media network. The regression model  could explain a new normal behavior by 26.1% (R² = 0.261).

Conclusion  :     The organizations should focus on educating working people about COVID – 19 knowledge and a new normal behavior to prevent the disease, promote social support from e.g. family, neighbors or colleagues, local organizations including professional such as doctors, nurses and health officers to improve an appropriate health behavior.

References

สยามรัฐออนไลน์. เปิดไทม์ไลน์ต้นตอโควิตโลก-โควิดไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 1 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://siamrath.co.th/n/148697

กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุข เพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1) [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_other/g_other02.pdf

Open Development Thailand. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ท้องที่นอกราชอาณาจักรที่เป็นเขตติดโรคติดต่ออันตราย กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) พ.ศ. 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://data.thailand.opendevelopmentmekong.net/th/laws_record/b0a62cfd-e8a6-4f68-ba5c-a92d91eca4c8

ไทยรัฐออนไลน์. คนไทยเรียนรู้อะไร โควิด-19 ทำชีวิตเปลี่ยนไปขนาดไหน [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thairath.co.th/news/society/1826678

ราชบัณฑิตยสภา. ราชบัณฑิตบัญญัติศัพท์คำว่า “New normal” [อินเทอร์เน็ต].กรุงเทพฯ: 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://royalsociety.go.th/tag/new-normal/

ชัยเลิศ พิชิตพรชัย. นิวนอร์มอล ในยุคโควิด-19 [อินเทอร์เน็ต]. จุลสารนวัตกรรม (ฉบับที่ 58) – ศึกษาปริทัศน์ สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://il.mahidol.ac.th/th/newsletter58-page-2/

ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับที่ 303 ประจำวันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/situation-no303-011163.pdf

กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุข และปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://bit.ly/3pcNzC3

PPTV Online. เปิดใจ "คนวัยทำงาน" เสี่ยงเป็นพาหะ แต่หยุดเดินทางไม่ได้ [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://1th.me/qGhGG

โสภณ เอี่ยมศิริถาวร. เผยจากผู้ป่วยโควิด-19 ในไทยจนถึงปัจจุบันกว่าครึ่งเป็นวัยรุ่น-วัยทำงาน [อินเทอร์เน็ต]. กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 9 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://1th.me/uP7xh

ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์. รายงานประจำวัน COVID-19 Daily Report (วันที่ 25 มกราคม 2563) [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 9 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nsn.moph.go.th/index.php/covid19/

สำนักงานสถิติจังหวัดนครสวรรค์. ระบบสถิติทางการทะเบียน สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สถิติประชากรจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ.2562 [อินเทอร์เน็ต]. (ม.ป.ป.). [เข้าถึงเมื่อ 15 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nso.go.th/sites/2014/nsopublic

Yamane T. Statistics: an introductory analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row; 1973.

Bloom B. Mastery learning. New York: Holt, Rinehart & Winston; 1971.

Best JW. Research in education. 3rd ed. New Jersey: Prentice hall Inc; 1977.

ธานี กล่อมใจ, จรรยา แก้วใจบุญ, ทักษิกา ชัชวรัตน์. ความรู้และพฤติกรรมของประชาชนเรื่องการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 1 เม.ย. 2564];21(2):29-39. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/243309/165906

จุฑาวรรณ ใจแสน. พฤติกรรมการป้องกันโรค COVID-19 ของพนักงานสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ [อินเทอร์เน็ต]. (ม.ป.ป.). [เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sat16/6114060102.pdf

กนกวรา พวงประยงค์. สถานการณ์ผลกระทบ ความต้องการการช่วยเหลือและการปรับตัวของคนวัยทำงานในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19: การศึกษาเชิงประจักษ์ในกรุงเทพมหานคร.วารสารสุทธิปริทัศน์ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 4 เม.ย. 2564];35(1):266-86. เข้าถึงได้จาก: https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/249546

ทนงศักดิ์ แสงสว่างวัฒนะ, ณิชนันทน์ ศิริไสยาสน์, โชติ บดีรัฐ. "New Normal" วิถีชีวิตใหม่และการปรับตัวของคนไทยหลังโควิด-19: การงาน การเรียน และธุรกิจ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น 2563;4(3):371-86.

House S. Work stress and social support. New Jersey: Prentice Hall; 1981.

สัญญา สุปัญญาบุตร. ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด A (2009 H1N1) ของประชาชนอำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์.วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น 2554;18(2):1-11.

สวรรยา สิริภคมงคล, สำราญ สิริภคมงคล. ปัจจัยด้านประชากร สังคม และปัจจัยด้านสุขภาพที่มีผลต่อความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ของผู้ป่วยเบาหวาน กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์. วารสารโรคและภัยสุขภาพสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 1 เม.ย. 2564];12(2):26-40. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-haijo.org/index.php/JDPC3/article/view/208523

จารุวรรณ แหลมไธสง. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจของ ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2562.

Published

2022-10-25 — Updated on 2022-10-26

Versions

How to Cite

ภูศรีเทศ ณฐนันทน์, and ลิ้มสายพรหม สรัญยา. (2022) 2022. “Factors Influencing New Normal Behavior in The Situation of COVID-19 on Working People in Mueang District, Nakhon Sawan Province”. Region 3 Medical and Public Health Journal - วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 19 (3). Nakhonsawan Thailand:285-300. https://thaidj.org/index.php/smj/article/view/12721.

Issue

Section

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article)