ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนิวนอร์มัลในสถานการณ์โควิด-19 ของคนวัยทำงาน ในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์

ผู้แต่ง

  • ณฐนันทน์ ภูศรีเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์
  • สรัญยา ลิ้มสายพรหม มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์

คำสำคัญ:

พฤติกรรมนิวนอร์มัล, วัยทำงาน, โควิด-19, แรงสนับสนุนทางสังคม, สื่อและเครือข่ายสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ :   เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมนิวนอร์มัล (new normal) และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนิวนอร์มัล ในสถานการณ์โควิด-19 (COVID-19) ของคนวัยทำงานในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์

วิธีการศึกษา :    ศึกษาเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ระหว่างวันที่ 13 ถึง 31 มีนาคม 2564 กลุ่มตัวอย่างคือ คนวัยทำงานอายุ 25-59 ปี ที่มีงานทำ และอาศัยอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 442 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ ที่ P น้อยกว่า 0.05

ผลการศึกษา :   พบว่าร้อยละ 92.5 ของกลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมนิวนอร์มัลอยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมนิวนอร์มัลของคนวัยทำงานได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อาชีพ โรคประจำตัว ความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 แรงสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อและเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมนิวนอร์มัลของคนวัยทำงานได้ร้อยละ 26.1 (R2 = 0.261)

สรุป :   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญในการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 และพฤติกรรมนิวนอร์มัล เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 โดยการสร้างแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลภายในครอบครัว จากเพื่อนบ้าน หรือเพื่อนร่วมงาน จากองค์กรท้องถิ่นหรือหน่วยงานในชุมชน รวมถึงจากบุคลากรทางวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือทีมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดพฤติกรรมทางสุขภาพที่เหมาะสม

 

เอกสารอ้างอิง

สยามรัฐออนไลน์. เปิดไทม์ไลน์ต้นตอโควิตโลก-โควิดไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 1 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://siamrath.co.th/n/148697

กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุข เพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1) [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_other/g_other02.pdf

Open Development Thailand. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ท้องที่นอกราชอาณาจักรที่เป็นเขตติดโรคติดต่ออันตราย กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) พ.ศ. 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://data.thailand.opendevelopmentmekong.net/th/laws_record/b0a62cfd-e8a6-4f68-ba5c-a92d91eca4c8

ไทยรัฐออนไลน์. คนไทยเรียนรู้อะไร โควิด-19 ทำชีวิตเปลี่ยนไปขนาดไหน [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thairath.co.th/news/society/1826678

ราชบัณฑิตยสภา. ราชบัณฑิตบัญญัติศัพท์คำว่า “New normal” [อินเทอร์เน็ต].กรุงเทพฯ: 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://royalsociety.go.th/tag/new-normal/

ชัยเลิศ พิชิตพรชัย. นิวนอร์มอล ในยุคโควิด-19 [อินเทอร์เน็ต]. จุลสารนวัตกรรม (ฉบับที่ 58) – ศึกษาปริทัศน์ สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://il.mahidol.ac.th/th/newsletter58-page-2/

ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับที่ 303 ประจำวันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/situation-no303-011163.pdf

กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุข และปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://bit.ly/3pcNzC3

PPTV Online. เปิดใจ "คนวัยทำงาน" เสี่ยงเป็นพาหะ แต่หยุดเดินทางไม่ได้ [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 8 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://1th.me/qGhGG

โสภณ เอี่ยมศิริถาวร. เผยจากผู้ป่วยโควิด-19 ในไทยจนถึงปัจจุบันกว่าครึ่งเป็นวัยรุ่น-วัยทำงาน [อินเทอร์เน็ต]. กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 9 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://1th.me/uP7xh

ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์. รายงานประจำวัน COVID-19 Daily Report (วันที่ 25 มกราคม 2563) [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 9 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nsn.moph.go.th/index.php/covid19/

สำนักงานสถิติจังหวัดนครสวรรค์. ระบบสถิติทางการทะเบียน สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สถิติประชากรจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ.2562 [อินเทอร์เน็ต]. (ม.ป.ป.). [เข้าถึงเมื่อ 15 ก.พ. 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nso.go.th/sites/2014/nsopublic

Yamane T. Statistics: an introductory analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row; 1973.

Bloom B. Mastery learning. New York: Holt, Rinehart & Winston; 1971.

Best JW. Research in education. 3rd ed. New Jersey: Prentice hall Inc; 1977.

ธานี กล่อมใจ, จรรยา แก้วใจบุญ, ทักษิกา ชัชวรัตน์. ความรู้และพฤติกรรมของประชาชนเรื่องการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 1 เม.ย. 2564];21(2):29-39. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnpy/article/view/243309/165906

จุฑาวรรณ ใจแสน. พฤติกรรมการป้องกันโรค COVID-19 ของพนักงานสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ [อินเทอร์เน็ต]. (ม.ป.ป.). [เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sat16/6114060102.pdf

กนกวรา พวงประยงค์. สถานการณ์ผลกระทบ ความต้องการการช่วยเหลือและการปรับตัวของคนวัยทำงานในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19: การศึกษาเชิงประจักษ์ในกรุงเทพมหานคร.วารสารสุทธิปริทัศน์ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 4 เม.ย. 2564];35(1):266-86. เข้าถึงได้จาก: https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/249546

ทนงศักดิ์ แสงสว่างวัฒนะ, ณิชนันทน์ ศิริไสยาสน์, โชติ บดีรัฐ. "New Normal" วิถีชีวิตใหม่และการปรับตัวของคนไทยหลังโควิด-19: การงาน การเรียน และธุรกิจ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น 2563;4(3):371-86.

House S. Work stress and social support. New Jersey: Prentice Hall; 1981.

สัญญา สุปัญญาบุตร. ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ชนิด A (2009 H1N1) ของประชาชนอำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์.วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น 2554;18(2):1-11.

สวรรยา สิริภคมงคล, สำราญ สิริภคมงคล. ปัจจัยด้านประชากร สังคม และปัจจัยด้านสุขภาพที่มีผลต่อความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ของผู้ป่วยเบาหวาน กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์. วารสารโรคและภัยสุขภาพสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 1 เม.ย. 2564];12(2):26-40. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-haijo.org/index.php/JDPC3/article/view/208523

จารุวรรณ แหลมไธสง. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจของ ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2562.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-10-25 — อัปเดตเมื่อ 2022-10-26

เวอร์ชัน

วิธีการอ้างอิง

ภูศรีเทศ ณฐนันทน์, และ ลิ้มสายพรหม สรัญยา. (2022) 2022. “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนิวนอร์มัลในสถานการณ์โควิด-19 ของคนวัยทำงาน ในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์”. Region 3 Medical and Public Health Journal - วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 19 (3). Nakhonsawan Thailand:285-300. https://thaidj.org/index.php/smj/article/view/12721.

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article)