ผลของยาฟาวิพิราเวียร์ต่อค่าการทำงานของตับของผู้ป่วยโควิด-19 ในโรงพยาบาลหนองแสง จังหวัดอุดรธานี

ผู้แต่ง

  • จุฑามาส บุญกว้าง โรงพยาบาลหนองแสง จังหวัดอุดรธานี

คำสำคัญ:

โควิด-19, ยาฟาวิพิราเวียร์, ค่าการทำงานของตับ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับค่าการทำงานของตับของผู้ป่วยโควิด-19 หลังได้รับยาฟาวิพิราเวียร์

วิธีดำเนินการวิจัย: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง ในผู้ป่วยโควิด-19 ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลหนองแสง ระหว่างเดือนเมษายน – สิงหาคม 2564 อายุ 18 ปีขึ้นไป มีผลพบเชื้อ SAR-CoV-2 โดยวิธี RT-PCR ได้รับการรักษาด้วยยาฟาวิพิราเวียร์ และมีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการค่าการทำงานของตับก่อนได้รับยาและวันที่ 4 หลังได้รับยาฟาวิพิราเวียร์ จำนวน 58 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา

ผลการศึกษา: ผู้ป่วยโควิด-19 หลังได้รับยาฟาวิพิราเวียร์ที่มีค่า alanine aminotransferase (ALT), alkaline phosphatase (ALP) และ total bilirubin อยู่ในระดับน้อยกว่าหรือเท่ากับ upper limit of normal (ULN) คิดเป็นร้อยละ 63.79, ร้อยละ 93.10 และร้อยละ 98.28 ตามลำดับ และไม่พบค่า ALP และ total billirubin ที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2 เท่าของ ULN และไม่พบค่า ALT ที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 4 เท่าของ ULN  

สรุปผลการศึกษา: ผู้ป่วยหลังได้รับยาฟาวิพิราเวียร์ ส่วนใหญ่มีค่าการทำงานของตับอยู่ในช่วงปกติ ไม่พบการบาดเจ็บที่ตับเนื่องจากยา

เอกสารอ้างอิง

Wang L, Wang Y, Ye D, Lui Q. Reviewofthe 2019 novelcoronavirus (SARS-CoV-2) basedoncurrentevidence. Int J AntimicrobAgents, 2020; 55(6):105948.

พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 132, ตอนที่ 86 ก (ลงวันที่ 8 กันยายน 2558).

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่3) พ.ศ.2563 เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย.ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137, ตอนที่ 48 ง ฉบับพิเศษ (ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563).

โชติรัตน์ นครานุรักษ์, ฐิตวดี ประดับคำ, วรรษา เจริญไวยเจตน์, เบญจพร วีระพล. เภสัชบำบัดในผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 28 กรกฎาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=802.

Instiaty, Darmayani IGAAPS, Marzuki JE, Angelia F, William, Siane A, et al. Antiviral treatment of COVID-19: a clinical pharmacology narrative review. Med J Indones. 2020;29(3):332-45.

Joshi S, Parkar J, Ansari A, Vora A, Talwar D, Tiwaskar M, et al. Role of favipiravir in the treatment of COVID-19. Int J Infect Dis, 2021;102:501-8.

แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข. ฉบับปรับปรุง. วันที่ 17เมษายน พ.ศ. 2564 ประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 4 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_health_care/g04_CPG170464.pdf

Kaur RJ, Charan J, Dutta S, Sharma P, Bhardwaj P, Sharma P, et al. Favipiravir use in COVID-19: Analysis of suspected adverse drug events reported in the WHO database. Infect Drug Resist, 2020;13:4427-38.

รัชนีพร ชื่นสุวรรณ. โรคโคโรนาไวรัส 2019 (COVID-19) ในด้านระบบทางเดินอาหารและตับ. บูรพาเวชสาร, 2563;7(1):113-26.

Agrawal U, Raju R, Udwadia ZF. Favipiravir: A new and emerging antiviral option in COVID-19. Med J Armed Forces India, 2020;76(4):370-6.

Dabbous HM, Abd-Elsalam S, El-Sayed MH, Sherief AF, Ebeid FFS, Soliman S, et al. Efficacy of favipiravir in COVID-19 treatment: a multi-center randomized study. Archives of Virology, 2021;166(3):949-54.

Doi Y, Hibino M, Hase R, Yamamoto M, Kasamatsu Y, Hirose M, et al. A prospective, randomized, open-label trial of early versus late farvipiravir therapy in hospitalized patients with COVID-19. Antimicrob Agents Chemother, 2020;64(12):e01897-20.

Yamazaki S, Suzuki T, Sayama M, Nakada T, Igari H, Ishii I. Suspected cholestatic liver injuryinduced by favipiravir in patient with COVID-19. J Infect Chemother, 2021;27(2):390-2.

ปาจรีย์ ศรีอุทธา. การบาดเจ็บที่ตับเนื่องจากยา.ThaiBullPharmSci, 2560;12(2):69-83.

Olry A, Meunier L, Delire B, Larrey D, Horsmans Y, Le Louet H. Drug-induced liver injury and COVID-19 infection: the rules remain the same. Drug Saf, 2020;43(7):615–617.

Sodeifian F, Seyedalhosseini ZS, Kian N, Eftekhari M, Najari S, Mirsaeidi M, et al. Drug-Induced Liver Injury in COVID-19 Patients: A Systematic Review. Front Med, 2021;8:731436.

พรรณี ลีลาวัฒนชัย, ธนานันต์ตัณฑ์ไพบูลย์. Favipiravir สำหรับรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, 2564;31(2):141-57.

ยุคล จันทเลิศ. ยาน่ารู้ Favipiravir. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 2564;38(2):232-6.

Kawasuji H, Tsuji Y, Ogami C, Takegoshi Y, Kaneda M, Murai Y, et al. Association between high serumfavipiravir concentrations and drug-induced liver injury. [Internet]. 2021 [cited 2021 Jul 28]. Available from: https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2021.05.03.21256437v1.full.pdf.

Udwadia ZF, Singh P, Barkate H, Patil S, Rangwala S, Pendse A, et al. Efficacy and safety of favipiravir, an oral RNA-dependent RNA polymerase inhibitor, in mild-to-moderate COVID-19: A randomized, comparative, open-label, multicenter, phase 3 clinical trial. Int J Infect Dis, 2021;103:62-71.

Doi Y, Kondo M, Matsuyama A, Ando M, Kuwatsuka Y, Ishihara T. Preliminary report of the Favipiravir observational study in Japan (2020/5/15) [internet]. 2020 [cited 2021 Aug 10]. Available from:https://www.kansensho.or.jp/uploads/files/topics/2019ncov/covid19_casereport_en_200529.pdf.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29